Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ, การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย…
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
หมวด 4 แนวทางการจัดการศึกษา
มาตรา 23 เน้นในการศึกษา (3 ระบบ)
ความรู้
คุณธรรม
กระบวนการเรียนรู้
บูรณากามตามความเหมาะสม
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สอดคล้องกับความสนใจและความถนัด
ฝึกทักาะ กระบวนการคิด การแก้ไข้ปัญหา
ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
ผสมผสานสาระความรู้ต่างๆ
สามารถจัดบรรยาเพื่อเรียนรู้
จัดการเรียนรู้ได้ทุกเวลา
มาตรา 27 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหลักสูตรแกนกลาง
เพื่อความเป็นไทย
ความเป็นพลเมืองดี
การดำรงชีวิต
การประกอบอาชีพ
การศึกษาต่อ
หมวด 1 บททั่วไปความมุ่งหมายและหลักการ
มาตรา 6 การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
กระบวนการเรียนรู้
-การเมืองการปกครอง
-รักษาและส่งเสริมสิทธิหน้าที่ เสรีภาพ
-เคารพกฎหมายความเสมอภาค
-ภาคภูมิใจในความเป็นไทย
มาตรา 8 การจัดการศึกษา
การศึกษาตลอดชีวิต สำหรับประชาชน
ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา 10 ต้องได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12ปี
บุคคลที่มีคว่มบกพร่องด้านร่างกายโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
บุคคลที่มีความสามารถพิเศษ จับรูปแบบให้เหมาะสม
มาตรา 13 บิดามารดาหรือผู้ปกครอง
การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู้ความสามารถในการอบรม
เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุตร
หมวด 3 ระบบการศึกษา
มาตรา 15 ระบบการศึกษา 3 ระบบ
การศึกษาในระบบ
กำหนดจุดมุ่งหมาย
วิธีการศึกษา
หลักสูตร
ระยะเวลาของการศึกษา
การวัดและประเมินผล
การศึกษานอกระบบ
เนื้อหาและหลักสูตรจะต้องสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ
มีความยืดหยุ่น
กำหนดจุดมุ่งหมาย
การวัดและประเมินผล
การศึกษาตามอัธยาศัย
การศึกษาด้วยตนเอง
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงให้มีองค์กรหลักที่เป็นคณะบุคคลในรูปสภาหรือในรูปคณะกรรมการ จำนวน 3 องค์กร
สภาการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
มาตรา 37 การบริหารและการจัดการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึกหลักเขตพ้นที่การศึกษา คำนึงถึง
ปริมาณสถานศึกษา
จำนวนประชากร
วัฒนธรรม
ความเหมาะสมด้านอื่นๆ
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 47 ระบบประกันคุณภาพการศึกษา
ระบบประกันคุณภาพภายใน
ระบบประกันคุณภาพภายนอก
มาตรา 49 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา มีหน้าที่
พัฒนาเกณฑ์วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก
ประเมินผลการจัดการศึกษา
ระบบประกันคุณภาพภายนอก ประเมินอย่างน้อย 1 ครั้งในทุก 5 ปี
หมวด 7 ครุ คณาอาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 53 องค์กรวิชาชีพครู (คุรุสภา) วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา และวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา เป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ
กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ
ออกและเพิกถอนใบประกอบวิชาชีพ
กำกับดูแลการปฏิบัติงาน
พัฒนาวิชาชีพ
บุคลากรทางการศึกษาอื่นทั้งรัฐและเอกชน มีใบประกอบวิชาชีพยกเว้น
บุคลากรทางการศึกษา กศน.
ผู้บริหารการศึกษาระดีบ้หนือเขตพื้นที่
วิทยากรพิเศษ
คณาจารย์สถานศึกษาอุดมศึกษา
หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
รัฐจัดสรรงบประมารแผ่นดิน
งบประมาณทั่วไป
ทุกการศึกษาในรูปแบบกองทุนกู้ยืม
งบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่น
ค่าใช้จ่ายดำเนินการ
เงินอุดหนุน
กองทุนดอกเบี้ยต่ำให้สถานศึกษาเอกชน
กองทุนเพื่อพัฒนาการศึกษา
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 63 รัฐจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำ และโครงสร้างพื้นฐาน
มาตรา 64 รัฐส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาแบบเรียน
พัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยี
ผู้เรียนมรสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ส่งเสริมให้มีการวิจัยและการผลิต
ระดมทุนเพื่อการจัดต้องกองทุนพัฒนา
การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนือง
การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีค่าใช้จ่ายการศึกษา