Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดสุขภาพจิต - Coggle Diagram
แนวคิดสุขภาพจิต
ประวัติวิวัฒนาการและแนวโน้มสุขภาพจิตและการพยาบาลสุขภาพจิต
สุขภาพจิต บุคคลที่สามารถปรับตัวได้ ดำรงชีวิตได้ด้สยความสมดุล
จิตเวช ปัญหาของบุคคลที่แสดงออกทางความคิด อารมณ์ พฤติกรรมที่ผิดปกติจนมีการเจ็บป่วยทางจิต
การพยาบาลสุขภาพจิต
การพยาบาลเฉพาะทางที่มุ้งเน้นการส่งเสริม ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ดูแลบำบัดรักษาฟื้นฟูของบุคคลที่มัปัญหาสุขภาพจิต
วิวัฒนาการของจิตเวชศาสตร์และสุขภาพจิตสากล
ยุคก่อนประวัติศาสตร์
เชื่อว่า;เป็นปรากฏการณ์เหนือธรรมชาติ จากวิญญาณภูตผีปีศาจ การทำบาป
การรักษา;ลงโทษ เฆี่ยนตี
ยุคกรีกและโรมัน
ฮิปโปเครตีส เชื่อว่าการเจ็บป่วยทางจิตเกิดจากความผิดปกติของการทำหน้าที่ของอวัยวะในระบบต่างๆ
พลาโต เชื่อว่าร่างกายและจิตใจแยกจากกันไม่ได้ ส่งผล
กระทบซึ่งกันและกัน รักษาโดยแยกออกจากชุมชน
อริสโตเติล มุ่งเน้นการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม
ยุคกลาง
เชื่อว่า เกิดจากแม่มด เวมย์มนต์คาถา
รักษาโดยการกักขัง ไม่ให้กินอาหาร
มีการสร้างสถานดูแลผู้ป่วยโรคจิตเรียกว่า อะไซลัม
ยุคฟื้นฟู
เชื่อว่าการป่วยทางจิตเกิดจากความผิดปกติของร่างกายรักษาไม่หาย
การรักษาเน้นการดูแลความเป็นอยู่ทั่วไป
ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงทางจิตเวชศาสตร์
philippe pineal การปฏิบัติต่อผู้ป่วยโดยใช่หลักเมตตาธรรม
sigmund freud เน้นการทำจิตวิเคราะห์ ความเจ็บป่วยเกิดจากความขัดแย้งในตัวบุคคล
adolf meyer เน้นการรักษาด้วยยา ไฟฟ้า
สรุปวิวัฒนาการของจิตเวชศาสตร์และสุขภาพจิตสากล
ระยะที่1 ระยะการดูแล(custodial stage) ควบคุมผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาลเน้นการดูแลทางกายเท่านั้น
ระยะที่2 ระยะเทคนิคการบำบัดรักษา(medical-technical stage) รักษาด้วยไฟฟ้า สารเคมี ผ่าตัดสมอง ยานอนหลับและยาระงับประสาท
ระยะที่3 ระยะทฤษฎีทางสังคม(the social theory stage) การดูแลต้องคำนึงถึงสังคม โดยช่วยให้ผู้ป่วยสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้
ระยะที่4 ระยะบูรณาการแนวคิดชีวจิตสังคมและจิตวิญญาณ(bio-psycho-social and spiritual stage)
การเจ็บป่วยทางจิตในศตวรรษที่ 21
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีต่อสถานการณ์สุขภาพจิตของประเทศไทยในศตวรรษที 21
1 ทำให้คนยึดติดวัตถุนิยม ต้องแสวงหาสิ่งที่สามารถทำให้ตนเข้าถึงการสื่อสารผ่านอุปกรณ์ต่างๆ
2 คนในชนบทส่วนหนึ่งนิยมเข้ามาหางานทำในเมืองใหญ่ เนื่องจากคิดว่าจะทำให้คุณภาพชีวิตดี
3 สังคมส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นครอบครัวเดี่ยว มุ่งเน้นวัตถุนิยมมากขึ้น
4 ผลกระทบจากการก่อการร้ายในบริบทของไทย ภัยคุกคาม เช่น ระบบเศรษฐกิจเกิดการชะลอตัว
5 มุมมอง ทัศนคติ ความเชื่อเกี่ยวกับการเจ็บป่วยทางจิต ยังไม่ได้รับการยอมรับเป็นที่แพร่หลาย จึงเกิดการล้อเลียน
6 ความแปรปรวนในภาระโรคในระดับโลก โดยเฉพาะประชาชนระดับล่างมักเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบ