Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 1 เด็กชาย อายุ 13 ปีi, จุดไฟเผาบ้านญาติของเพื่อนที่ตนไม่พอใจ…
-
-
-
OD : เมื่อเข้าโรงเรียนอนุบาล เคยจุดไฟเผาเสื้อนักเรียน จุดไฟจนไฟลุกเกือบไหม้บ้านที่พักอยู่ รังแกสัตว์อย่างทารุณ
-
-
-
1.ผู้ป่วยสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
2.ผู้ป่วยไม่มีพฤติกรรมทำร้ายตนเองและผู้อื่น เช่น ไม่มีอาการก้าวร้าว ทำร้ายร่างกายผู้อื่น
- การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดให้เกิดความไว้วางใจ
3.ส่งเสริมความตระหนักรู้ในพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของตนและรับรู้ว่าพฤติกรรมดังกล่าวไม่เป็นที่ยอมรับของสังคม โดยใช้หลักพฤติกรรมนิยม เช่น การให้แรงเสริมทางบวกและทางลบ โดยการชื่นชมและให้แรงเสริมทางบวกเพื่อเพิ่มพฤติกรรมที่ดี เมื่อผู้ป่วยมีพฤติกรรมที่ไม่เป็นปัญหา
5.เปิดโอกาสให้ปรับเปลี่ยนพลังความคับข้องใจ ความโกรธ เป็นพลังสร้างสรรค์เพื่อให้เกิดการผ่อนคลาย เช่น การเล่นกีฬา และเล่นดนตรี
6.แนะนำผู้ปกครองในการปรับเปลี่ยนการตอบสนองต่อพฤติกรรมผู้ป่วย โดยไม่ใช้คำพูดรุนแรง และไม่ใช้ความรุนแรงในการตอบสนองต่อพฤติกรรม
7.แนะนำการจิตบำบัดแบบปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (CBT) ฝึกรู้ตัวรู้ความคิด เพื่อที่จะได้ให้เข้าใจว่าอะไรทำให้เราคิดแบบนั้น มีทางเลือกที่จะแสดงออก หรือตอบสนองต่อเรื่องต่างๆมากขึ้น
8.แนะนำผู้ปกครองและผู้ดูแลในการหลีกเลี่ยงการเอาชนะหรือบังคับในหลายเรื่อง เช่น การรับประทานอาหารให้เรียบร้อย หรือต้องอาบน้ำทันทีหรือทำอะไรตามที่ผู้ปกครองต้องการ
2.การฝึกทักษะการจัดการความโกรธ มีองค์ประกอบหลักคือ การรู้จักร่างกาย การสังเกตตัวเองเป็นว่า ขณะนั้นตัวเองรู้สึกอย่างไร ร่างกายเป็นอย่างไร จะทำอย่างไรเมื่อโกรธ แนะนำแนวทางเลือกให้เป็นแนวโปรแกรม 6-8 sessions เพื่อให้ผู้ป่วยเรียนรู้และมีแนวทางให้การจัดการการแสดงออกของพฤติกรรมเมื่อโกรธ
4.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับประทานยา Risperidone (0.5 mg)1*2 pc.ตามแผนการรักษาและเฝ้าระวังผลข้างเคียงของยา เช่น ปากแห้ง ปวดหัว เจ็บคอ ท้องเสีย น้ำหนักขึ้นหรือง่วงซึม เป็นต้น
-
SD : เอบอกว่า “ไม่มีเพื่อนสนิท เเต่มีเพื่อนที่รู้จัก 2-3 คนเเต่เขาไม่ชอบอยู่ใกล้ผม ส่วนใหญ่ผมเล่นคนเดียวเวลาจะไปหาใครเขาก็กลัวผม”
-
-
-
-
-
- ผู้ป่วยสามารถนั่งรวมกลุ่มกับผู้อื่นได้มากกว่า 2 คนขึ้นไป
- ผู้ป่วยมีความร่วมมือในการเข้าร่วมกลุ่มบำบัดอย่างน้อย 3 ครั้ง/สัปดาห์
-
- สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยโดยใช้หลักการ one-to-one relationship เพื่อให้ผู้ป่วยได้เรียนรู้ทักษะในการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นจากนักศึกษาพยาบาล
- เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้อธิบายความรู้สึกที่ผู้ป่วยแยกตัวและรับฟังผู้ป่วยอย่างตั้งใจ เพื่อเข้าใจผู้ป่วยและเพื่อสนับสนุนให้ผู้ป่วยเข้าใจตนเอง
- แนะนำใ้ห้ผู้ป่วยรู้จัก สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยอื่น 1-2 คน ในช่วงวัยใกล้เคียงกัน เพื่อให้ ผู้ป่วยได้ทำการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นเพิ่มมากขึ้น
- ชักชวนให้ผู้ป่วยเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมกับนักศึกษาพยาบาลอย่างสม่ำเสมอ เช่น การออกกำลังกาย การทำกลุ่มกิจกรรมบำบัด เพื่อใ้ห้ผู้ป่วยได้ฝึกการปรับตัว เมื่ออยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
- ชมเชยหรือให้กำลังใจผู้ป่วย เมื่อผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมที่นักศึกพยาบาลปฏิบัติและสัมพันธภาพกับผู้อื่น เพื่อเสริมแรงทางบวกให้ผู้ป่วยเกิดความมั่นใจ
-
SD : ครูบอกว่า “ เอมักคิดแก้แค้นเมื่อมีผู้ทําให้ไม่พอใจ เช่น ขณะอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เอไม่พอใจเพื่อนในชั้นจึงได้ หนีออกจากชั้นเรียน ไปจุดไฟเผาบ้านญาติของเพื่อนที่ตนไม่พอใจจนไหม้หมดทั้งหลัง”
SD :ครูบอกว่า “บางครั้งก็แสดงพฤติกรรมไม่เหมาะสม เช่น ให้เด็กอื่นจับอวัยวะเพศของตนเล่น ที่โรงเรียนเอมักจะรังแก และหยิบของเพื่อนเสมอ หนีเรียน ไปเที่ยว และขโมยของจากร้านค้าในตลาด บางครั้งจะหนีออกจากบ้านไป 1 - 2 วัน”
-
1.ผู้ป่วยไม่มีพฤติกรรมที่แสดงถึงการควบคุมตนเองไม่ได้ เช่น การจุดไฟเผาเสื้อ แก้แค้นผู้อื่น ขโมยของ
2.ผู้ป่วยสามารถฝึกการควบคุมตัวเองตามคำแนะนำได้
-
2.กระตุ้นให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกเกี่ยวกับผลกระทบในการแสดงออกของ ความ โกรธหรือความก้าวร้าวอย่างรุนแรง เพื่อทำให้ผู้ป่วยรู้จักและเข้าใจตนเอง ปัญหา และตระหนักถึงผลกระทบต่างๆที่เกิดขึ้น
3.สอบถามผู้ป่วยเกี่ยวกับวิธีการจัดการกับความเครียด ความไม่สบายใจ และอารมณ์ โกรธที่ผ่านมา และให้คำแนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดการความเครียด เช่น การออกกำลังกาย การฟังเพลง การพูดระบายกับคนที่ไว้วางใจ การทำกิจกรรมอื่นๆ เช่น การรดน้ำต้นไม้ การเล่นกับสัตว์เลี้ยง
4.ให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยในการฝึกควบคุมอารมณ์ โกรธ การควบคุมตนเอง การควบคุมเมื่อไม่พอใจ โดยสอนให้สังกตตนเองเมื่อมีอารมณ์โกรธ ให้บอกกับตนเองว่าขณะนี้และเดี๋ยวนี้คนรู้สึกอย่างไร เพื่อทำให้เกิดความตระหนักรู้ในตนเอง นอกจากนี้ให้ฝึกควบคุมตนเองเมื่อมีอารมณ์โกรธ เช่น การนับเลข 1-100 การเดินเลี่ยงออกจากสถานการณ์ การเล่นกีฬา
5.ส่งเสริมความตระหนักรู้ในพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของตนและรับรู้ว่า พฤติกรรมดังกล่าวไม่เป็นที่ขอมรับของสังคมโดยสอนให้ผู้ป่วยหัดสังเกตอารมณ์ความรู้สึกของบุคคลอื่นต่อพฤติกรรมของตนและแนะนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทางที่เหมาะสม เช่นหัดยับยั้งชั่งใจ คำนึงถึงผลเสียที่จะเกิดตามมาทั้งต่อผู้อื่นและตนเอง และบอกกับตนเองว่า "ไม่"
เมื่อผู้ป่วชมีพฤติกรรมที่เหมาะสม ให้แรงเสริมทางบวก เพื่อให้ผู้ป่วยคงพฤติกรรมที่ดีนั้นไว้ ช่วยให้มีสัมพันธภาพกับผู้อื่นและมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่ดี
6.ส่งเสริมความตระหนักรู้ในคุณค่าของตนเอง การประเมินศักยภาพของตนเอง และการตั้งเป้าหมายชีวิตต่อ Suratthani Rajabhat University
7.การเสริมแรงทางบวกโดยกล่าวชมเชย เมื่อผู้ป่วยมีพฤติกรรมที่ดีขึ้น รวมทั้งการแสดงออกถึงการเป็นกำลังใจและการสนับสนุนทางอารมณ์อย่างเปิดเผยตรงไปตรงมา จะช่วยส่งเสริมให้ผู้ป่วยสื่อสารบอกความต้องการได้อย่างเปิดเผย ไม่เก็บกด และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่ดีขึ้น