Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อวินิจฉัย - Coggle Diagram
ข้อวินิจฉัย
ภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (ESRD)
มีภาวะติดเชื้อที่เยื่อบุช่องท้อง เนื่องจากการล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่อง (CAPD)
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการติดเชื้อ เช่น ไข้ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดหลัง ปวดท้องน้อย กดเจ็บบริเวณท้อง
2.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอุณหภูมิร่างกาย
3.ประเมินน้ำยาล้างไต(PDF) เช่น สีขุ่น ตะกอน มีเลือดปน
4.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
Ceftazidium 1gm
อาการข้างเคียง : แพ้ยา ค่าเอนไซม์สูง
Cefazolin 1 gm
อาการข้างเคียง : ผื่นคัน มีจุดเลือด ไข้ หนาวสั่น ปวดข้อ บวม
Fluconazole po EOD
อาการข้างเคียง : ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเดิน ผื่นขึ้น
5.ล้างมือหลังก่อน-หลังให้การพยาบาล
6.ติดตามผลการตรวจห้องปฏิบัติการของน้ำล้างไต(PDF)
ติดตาม pain score
ทำความสะอาดแผลที่ล้างไต และดูแลการล้างไต
ดูแลความสะอาดของร่างกาย และสิ่งแวดล้อมเพื่อลดการติดเชื้อ
มีภาวะไม่สมดุลอิเล็กโทรไลท์ในร่างกาย เนื่องจากเสียหน้าที่จากภาวะไตวายเรื้อรัง
ตั้งไหม่
เนื่องจาก .......
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการ Na ต่ำ และ Ca ต่ำ
Na ต่ำ
อ่อนเพลีย กระหายน้ำ เป็นตะคริวบ่อย ความดันโลหิตต่ำ ซึ่ม อ่อนแรง กระตุก หมดสติ น้ำท่วมปอด หัวใจวาย
Ca ต่ำ
ชา ชัก ความดันโลหิตต่ำ หัวใจเต้นผิดปกติ
2.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอัตราการหายใจ ออกซิเจนในเลือด ความดันโลหิต
3.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
lanthanum po pc
อาการข้างเคียง : ท้องเสีย ท้องผูก คลื่นไส้ อาเจียน
4.แนะนำให้รับประทานอาการเพิ่ม Na และ Ca
5.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ serum eletrolyte
เนื้อสัตว์ ผักสด ผลไม้ นม ไข่ขาว
นมถั่วเหลือง ตระกูลถั่ว
ซีด เนื่องจากการทำงานของฮอร์โมน Erythropoietin (EPO) ลดลงจากภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการแสดงของซีด เช่น ตัวซีด เยื่อบุตา ลิ้น และฝ่ามือซีด capillary refill time
2.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
Erythropoietin : EPO sc
อาการข้างเคียง : อ่อนเพลีย หน้ามืด เหนื่อยง่าย ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ มีอาการคล้ายเป็นหวัด ผื่นคัน ลมพิษ ความดันโลหิตสูง บวม คลื่นไส้
Vitamin B complex po pc
Folic acid po pc
3.แนะนำผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็ก ได้แก่ เนื้อสัตว์สีแดง เช่น สันในหมู เนื้อหมู ผักใบเขียว กะหล่ำปลี ดอกกะหล่ำ ถั่วเขียว ถุ่วแดง และงาดำ
4.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ Hb, Hct
เสี่ยงต่อการเกิดของเสียคั่งและน้ำเกินในร่างกาย เนื่องจากมีการคั่งของเสียและน้ำเกินจากอัตราการกรองของไตลดลงจากภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการของเสียคั่ง และน้ำเกิน เช่น ผิวหนังแห้งคัน ปัสสาวะลดลง ตัวบวม ตาบวม น้ำท่วมปอด อัตราการหายใจผิดปกติ นอนราบไม่ได้ ความดันโลหิตสูง มีภาวะซีด เลือดจาง
2.ตรวจร่างกายฟังเสียงปอด และประเมิน pitting edema
pitting edema (บวมกดบุ๋ม) 1+ = 2mm., 2+ = 4 mm., 3+ = 6 mm., 4+ = 8 mm.
3.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอัตราการหายใจ ออกซเจนในเลือด ความดันโลหิต
4.ประเมินระดับความรู้สึกตัว (glascoe coma scale)
5.ดูแลล้างไตผ่านทางหน้าท้อง CAPD วันละ 5 cycle ช่วงเวลากลางวัน
6.ดูแลจำกัดน้ำผู้ป่วยไม่เกิน 1,000 ml./day
1 more item...
ชัก (seizure)
เสี่ยงอันตรายจากการชักซ้ำ เนื่องจากมีของเสียคั่งภายในสมองจากภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสัญญาชีพทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอัตราการหายใจ และออกซิเจนในเลือด
2.ประเมินระดับความรู้สึกตัว (Glascow coma scale)
การลืมตา (eye opening : E)
ลืมตาได้เอง 4
ลืมตาเมื่อเรียก 3
ลืมตาเมื่อเจ็บ 2
ไม่ลืมตาเลย 1
การพูด (verbal response : V)
พูดคุยได้ตามปกติ 5
ออกเสียงเป็นประโยคแต่สับสน 4
ออกเสียงเป็นภาษา เป็นคำๆ มีความหมาย 3
ออกเสียงไม่เป็นภาษา ไม่มีความหมาย 2
ไม่ออกเสียงเลย 1
การเคลื่อนไหว (motor response : M)
ทำตามคำสั่งได้ 6
เอามือปัดตำแหน่งเจ็บได้ 5
แขนงอผิดปกติ งอเข้า 3
ขยับเมื่อเจ็บ 4
แขนเหยีดเกร็ง งอออก 2
ไม่ขยับเลย 1
ประเมินกำลังแขนขา (motor power)
ไม่มีการเคลื่อนไหว,กล้ามเนื้อไม่หดตัว = เกรด 0
กล้าเนื้อมีการหดรัดตัวแต่ไม่มีการเคลื่อนไหว = เกรด 1
เคลื่อนไหวได้ในแนวราบแต่ต้านแรงโน้มถ่วงไม่ได้ = เกรด 2
สามารถยกต้านแรงโน้มถ่วงได้แต่ต้านแรงผู้ตรวจไม่ได้ = เกรด 3
ยกต้านแรง ต้านแรงผู้ตรวจได้พอควร = เกรด 4
มีกำลังปกติ สามารถต้านแรงผู้ตรวจได้ = เกรด 5
3.ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งอยู่เสมอ เพื่อป้องกันการอุดกั้นทางเดินหายใจ
5.สังเกตและติดตามอาการชัก
การพยาบาล "ก่อนชัก"
1.เตรียมอุปกรณีเปิดทางเดินหายใจ เครื่องดูดเสมหะให้พร้อม
2.ถ้ามีอาการเตือนก่อนชัก (aura) จัดท่านอนผู้ป่วยนอนราบ และใส่อุปกรณ์เปิดทางเดินหายใจ
3.ปลดขยายเสื้อผ้าที่รัดดึงร่างกายออก โดยเฉพาะรอบๆคอ
การพยาบาล "ขณะชัก"
1 more item...
6.ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ Eletrolyte และติดตามผลการเจาะน้ำตาลในเลือด
4.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
dilantin (Phenytoin)
อาการข้างเคียง : ตากระตุก เดินเซ มึนงง สับสน ตาพร่า นอนไม่หลับ มือสั่น หงุดหงิด ปวดศีรษะ ประสาทหลอน คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร เหงือกบวม ไข้ น้ำตาลในเลือดสูง
โรคเบาหวาน (DM)
มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง เนื่องจากร่างกายไม่สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้จากโรคเบาหวาน
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการน้ำตาลในเลือดสูง เช่น กระหายน้ำมาก ดื่มน้ำบ่อย ปัสสาวะบ่อย ความดันโลหิตสูง อ่อนเพลีย เหนื่อย น้ำหนักลด ตามัว ซึม หมดสติ ชักกระตุก
2.ประเมินสัญญาชีพทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอัตราการหายใจ และออกซิเจนในเลือด
3.ตรวจน้ำตาลในเลือด โดยการเจาะ DTX เช้า,บ่าย ตามแผนการรักษา
4.ดูแลใหยา Insulin ตามแผนการรักษา
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ (UTI)
มีภาวะติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ เนื่องจากเชื้อแบคทีเรียปนเปื้อนส่วนนอกรูทวารแล้วเข้าสู่ช่องเปิดทางเดินปัสสาวะ และทำให้เกิดการติดเชื้อในอวัยวะที่เคลื่อนที่ไปภายในระบบทางเดินปัสสาวะ
ตั้งใหม่
เนื่องจากมีการอักเสบบริเวณหน่วยไตจากน้ำตาลในเลือดสูงไปจับโปรตีนและไขมันทำให้เกิดสาร AGEs (Advanced glycation end products) กระตุ้นการอักเสบระบบภุมิคุ้มกันหลั่งสารเคมีทำลายเนื้อเยื่อเส้นเลือดฝอยในไต
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ เช่น ปวดท้องน้อย แสบขัด ปัสสาวะบ่อย ไข้ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดหลัง ปวดบริเวณสีข้าง ความดันโลหิตต่ำ ซึมลง หมดสติ
2.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอุณหภูมิร่างกาย
3.ประเมินลักษณะปัสสาวะ ปริมาตร สี เช่น สีขุ่น ตะกอน และเลือดปน
4.ดูแลความสะอาดร่างกาย โดยเฉพาะ perineum อยู่เสมอ โดยเฉพาะรอบๆ catherter
5.ดูแลให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ 1,000 ml./day
6.ดูแลสาย cath
7 more items...
กรวยไตอักเสบ