Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ, การศึกษาตลอดชีวิต สำหรับประชาชน,…
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
หมวดที่ 1 บททั่วไป ความมุ่งหมายและหลักการ
การลดหย่อน ยกเว้นภาษี สำหรับค่าใช้จ่ายค่าศึกษา
ศูนย์
มาตรา 23 จุดเน้นในการศึกษา 3 ระบบ
หมวดที่ 8 ทรัพยากรและการลงทุน เพื่อการศึกษา
หมวดที่ 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
บทเฉพาะกาล
การศึกษา หมายความว่า กระบวการการเรียนรู้เพื่อควาเจริญงอกงามของบุคคล
การศึกษาตลอดชีวิต สำหรับประชาชน
ให้สังคมมีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา
การศึกษาตลอดชีวิต หมายความว่า การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษา ในระบบ นอกระบบ ตามอัธยาศัย
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มี 9 หมวด 78 มาตรา
มาตรา 8 หลักการจัดการศึกษา
มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
การพัฒนาสาระ และกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
หมวดที่ 2 สิทธิ และหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา 10 ต้องได้รับการศกษาขั้นพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า12ปี โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
สำหรับคนพิการ รัฐต้องจัดใตั้งแต่เเรกเกิด หรือพบความพิการ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
บุคคลที่มีความสามารถพิเศษ รัฐต้องจัดด้วยรูปแบบที่เหมาะสม
มาตรา 13 บิดามาร หรือผู้ปกครอง
การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู้ ความสามรถในการอบรมเลี้ยงดู และการศึกษา
เงินอุดหนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หมวดที่ 3 ระบบการศึกษา
การศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรา 16 การศึกษาในระบบ มี 2 ระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า 12 ปี
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
มาตรา 17 การศึกษษขั้นบังคับ จำนวน 9 ปี โดยอายุย่างเข้าปีที่ 7 เข้าเรียน
มาตรา 15 ระบบการศึกษา มี 3 รบบ
ขั้นพื้นฐานอายุย่างเข้าปีที่ 16 เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่ 9ของภาคบังคับ
การศึกษาในระบบ
มาตรา 18 การจัดการศึกษาปฐมวัย และการศกษษขั้นพื้นฐาน
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
การศึกษานอกระบบ
โรงเรียน
มาตรา 22 ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ แลพัฒนาตนเองได้ ถือว่าผู้เรียนสำคัญ
ความรู้
คุณธรรม
กระบวนการเรียนรู้
บูรณาการ
มาตรา 25 รัฐส่งเสริมการจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต
มาตรา 27 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหลักสูตรแกนกลาง
มาตรา 30 พัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
มาตรา 26 ประเมินผู้รียนควบคู่กับกระบวนการเรียนการสอน
หมวดที่ 4 แนวการจัดการศึกษา
หมวดที่ 5 การบริหาร และการจัดการศึกษา
มาตรา 32 การจัดระบียบบริหารราชการในกระทรวง ที่เป็นองค์กรหลักที่เป็นคณะบุคคลในรูป สภา 4 องค์กร
มาตรา 37 การบริหาร และการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานขั้นพื้นฐานให้ยึดหลักเขตพ้นที่การศึกษา โดยคำนึงถึง
ปริมาณสถานศึกษา
วัฒนธรม
ควาเหมาะสมด้านอื่นๆ
จำนวนประชากร
มาตรา 38 คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษามีอำนาจในการ กำกับ ดูเเล จัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษา คณะกรรมการเขตพื้นที่ 15 คน
หมวดที่ 6 มาตรฐานเเละการประกันคุณภาพทางการศึกษา
มาตรา 47 ให้มีระบบประกันคุณภาพทางการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา
มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน
เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา
ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
จัดทำรายงานประจำปีเสนอหน่วยงานต้นสังกัด / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 49 ให้มีสำนักงานรับรองมาตฐาน และประเมินคุณภาพทางการศึกษา
มาตรา 51 กรณีผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาไม่ได้มาตรฐานให้ สมศ. จัดทำข้อเสนอแนะ ปรับปรุงแก้ไข
หมวดที่ 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 53 ให้มีองค์รวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มีถานะเป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ มีอำนาจทำให้เกิด พ.ร.บ. สภาครู
มาตรา 59 บรรดาอสังหาริมทรัพย์ของสถานศึกษาของรัฐ ที่เป็นนิติบุคลได้มา โดยมีผู้อุทิศให้หรือซื้อแลกเปลี่ยนจากรายได้ของสถานศึกษาไม่ถือเป็นที่ราชพัสดุ ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของสถานศึกษา
มาตรา 63 รัฐต้องจัดคลื่นความถี่ สื่อตัวนำ โครงสร้างพื่นฐานอื่น ที่จำเป็นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์ เพื่อใช้สำหรับการศึกษา
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
มาตรา 70 บรรดากฎหมาย กฎระบียบ ข้อบังคับที่ใช้อยู่ให้ใช้ต่อไป แต่ไม่เกิน 5 นับตั้งแต่วันที่ พ.ร.บ. นี้บังคับใช้
มาตรา 64 รัฐส่งเสริม สนับสนุนการผลิตและพัฒนาแบบเรียนโดยเปิดให้มีการแข่งขันโดยเสรีอยางเป็นธรรม
มาตรา 72 ห้ามมิให้ใช้ มาตรา 10 มาบังคับใช้จนกว่จะมีการดำเนินการเป็นไปตาม พ.ร.บ. แต่ต้องไม่เกิน 5 ปี
มาตรา 76 คณะกรรมการบริหารสำนักงานปฏิรูปการศึกษา จำนวน 9 คน
มาตรา 75 ให้จัดสำนักงานปฏิรูปทางกาศึกษาเป็น องค์กรมหาชนเฉพาะกิจ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายความว่ํา การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา