Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, image, image, image, image, image, image,…
กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
กลไก
เฟือง
เป็นชิ้นส่วนเครื่องกลที่มีรูปร่างโดยทั่วไป เป็นจานแบนรูปทรงกลม ส่วนขอบมีลักษณะเป็นแฉก
ผลิตขึ้นมาเพื่อใช้ส่งกำลังในลักษณะของแรงบิด (torque) ด้วยการหมุนของตัวเฟืองที่มีฟันอยู่ในแนวรัศมี โดยการส่งกำลังจะเกิดขึ้นได้เมื่อมีเฟืองตั้งแต่สองตัวขึ้นไปมาสบกัน
แบ่งเป็น
เฟืองตรง
ส่วนมากจะนำมาใช้ระบบส่งกำลัง เช่น ระบบส่งกำลังในรถยนต์ เครื่องจักรกล
เฟืองวงแหวน
เฟืองตัวในจะทำหน้าที่เป็นตัวขับเคลื่อน
เฟืองเฉียง
มีหน้าที่การใช้งานเหมือนกับเฟืองตรง แต่มีเสียงที่เกิดจากการทำงานเบากว่าเฟืองฟันตรง ใช้ในการส่งกำลังให้กับเพลาที่ไม่ขนานกันได้
เฟืองดอกจอก
การใช้งานเฟืองดอกจอกแบบเฟืองเฉียงใช้ในยานพาหนะ เช่น ในระบบส่งกำลังและขับเคลื่อนในรถแทรกเตอร์ ในระบบเฟืองส่งกำลังของมือ
เฟืองตัวหนอน
การทำงานของเฟืองตัวหนอนจะงียบและมีแรงสั่นสะเทือนเกิดขึ้นน้อย
เฟืองเกลียวสกรู
ทำหน้าที่เปลี่ยนทิศทางของเพลาให้ทำมุมกัน 90 องศา คล้ายกับชุดเฟืองตัวหนอนแต่สามรถส่งกำลังได้น้อยกว่า
เฟืองสะพาน
ถูกใช้ในเครื่องจักรอัตโนมัติต่างๆ เช่น เครื่องจักรผลิตชิ้นส่วนรถยนต์อัตโนมัติ
เฟืองแต่ละประเภทจะมีหน้าที่แตกต่างกันไป ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้กับงานที่หลากหลาย เพื่อช่วยให้การทำงานของมนุษย์สะควก รวคเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
รอก
เป็นอุปกรณ์ช่วยอำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายสิ่งของและช่วยผ่อนแรงเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งาน มีลักษณะเป็นล้อที่มีร่องตรงกลาง สำหรับคล้องเชือก
แบ่งประเภทเป็น
รอกเดี่ยวเคลื่อนที่
เป็นรอกที่ช่วยอำนวยความสะดวกและช่วยผ่อนแรง
รอกพวง
เกิดจากการนำรอกหลายๆ ตัวมาผูกต่อกันเป็นพวง ทำให้ผ่อนแรงมากขึ้น
รอกเดี่ยวตายตัว
เป็นรอกที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงานแต่ไม่ช่วยผ่อนแรง
แบ่งหน้าที่การทำงานเป็น
การผ่อนแรง
ใช้รอกพวงช่วยผ่อนแรงในการเคลื่อนข้าขวัตถุที่มีน้ำหนักมาก เช่น การเคลื่อนย้ยวัสดุก่อสร้าง
การอำนวยความสะดวกและทำให้เกิดการ
เคลื่อนที่ลักษณะต่างๆ
การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
รอกทำให้เกิดการเคลื่อนที่ ตามแนวเส้นตรงตั้งฉากกับพื้นและช่วยอำนวยความสะดวกในการยกสิ่งของขึ้นสู่ที่สูง เช่น การใช้รอกลำเลียงวัสดุก่อสร้างขึ้นสู่ที่สูง การชักธงชาติขึ้นสู่ยอดเสา
การเคลื่อนที่ในแนวราบ
รอกทำให้เกิดการเคลื่อนที่ตามแนวเส้นตรงขนานกับพื้น เช่น การเคลื่อนที่ของกระเช้าไฟฟ้าสายพานลำเลียงกระเป๋า
การเคลื้อนที่เป็นวงกลม
รอกทำให้เกิดการเคลื่อนที่ตามเสื้นรอบวงกลม เช่น เครื่องซักผ้าใช้การทำงานของรอกควบคู่กับมอเตอร์เพื่อทำให้ถังซักผ้าหมุน
อุปกรณ์ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์
มอเตอร์
ป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าทีแปลงพลังงานไฟฟ้า
เป็นพลังงานกล
มีคุณสมบัติที่แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่น มอเตอร์ที่ใช้ในงานอุตสาหกรรมต้องการแรงบิดมาก มอเตอร์ที่ใช้ในของเล่นต้องการความเร็วสูง
มีลักษณะภายนอก ประกอบด้วยขั้วไฟฟ้าของมอเตอร์ 2 ขั้ว สำหรับเชื่อมต่อกับวงจรไฟฟ้ามีแกนเหล็กยื่นออกมาจากตัวมอเตอร์ เรียกว่า เพลามอเตอร์ ซึ่งเป็นส่วนที่ต่อกับอุปกรณ์ที่ต้องการให้เกิดการเคลื่อนที่ในลักษณะการหมุน เล่น ใบพัด เพลาของอุปกรณ์ต่างๆ
แบ่งตามประเภทการใช้กระแสไฟฟ้าเป็น
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
เป็นมอเตอร์ที่ต้องใช้กับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง เช่น เซลล์ไฟฟ้า หรือแบตเตอรี่
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ
เป็นมอเตอร์ที่ต้องใช้กับแหล่งจ่ายไฟฟ้าที่ใช้ในบ้านเรือน
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
เกี่ยวข้องกับการควบคุมการผ่านของกระแสไฟฟ้ในวงจรซึ่งมีชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบเพื่อควบคุมการผ่านของกระแสไฟฟ้า
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน มีดังนี้
ไดโอด
เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำจากสารกึ่งตัวนำ ที่มีคุณสมบัติยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ทางเดียว จึงทำหน้าที่ควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า และป้องกันกระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ย้อนกลับ
แบ่งได้เป็น
ไดโอดเปล่งแสง
ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสงโดยสามารถเปล่งแสงออกมาได้เมื่อได้รับกระแสไฟฟ้าและความศักย์ไฟฟ้าที่เหมาะสม
ไดโอดธรรมดา
ทำหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้าให้ผ่านทางเดียว ใดโอดมีขั้วไฟฟ้าบวกและขั้วไฟฟ้าลบ
ตัวต้านทาน
เป็นอุปกรณ์ที่มีคุณสมบัติในการด้านทานการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็น โอห์ม
ในวงจรไฟฟ้าตัวต้านทานที่มีค่ามากจะทำให้มีกระแสไฟฟ้าผ่านได้น้อย
แบ่งได้เป็น
ตัวต้านทานแบบปรับค่าได้
เป็นตัวต้านทานที่เมื่อหมุนแกนของตัวต้านทาน แล้วค่าความต้านทานจะเปลี่ยนแปลงไป
แอลดีอาร์
เป็นตัวต้านทานที่เปลี่ยนค่าได้ โดยค่าความต้านทาน เปลี่ยนไปตามบริเวณแสงที่ตกกระทบ
ตัวต้านทานคงที่
เป็นตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานของการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้าคงที่สามารถอ่านค่าความต้านทานได้จากแถบสีที่คาดอยู่บนตัวต้านทาน
ตัวเก็บประจุ
ทำหน้าที่เก็บสะสมประจุไฟฟ้า โดยนำสารตัวนำ 2 ชิ้นมาวางในลักษณะขนานกัน โดยระหว่างตัวนำทั้งสองจะถูกกั้นด้วยฉนวนที่เรียกว่า ไดอิเล็กตริก
แบ่งได้เป็น
ตัวเก็บประจุประเภทอิเล็กโทรไลท์
ใช้งานที่ต้องการค่าความด้านทานของฉนวนที่มีค่าสูงและมีเสถียรภาพดีในสภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูง
ตัวเก็บประจุประเภทเซรามิก
เป็นตัวเก็บประจุที่ใช้เซรามิกเป็นไดอิเล็กตริกและเก็บประจุได้ไม่เกิน 1 ไมโครฟารัด นิยมใช้กันทั่วไป
เซ็นเซอร์
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเปลี่ยนปริมาณทางกายภาพให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า
แบ่งได้เป็น
เซ็นเซอร์ตรวจจับแสง
เซ็นเซอร์ตรวจจับอุณหภูมิ
เซ็นเซอร์ตรวจจับการสัมผัส
เซ็นเซอร์ตรวจจับเสียง
แผงควบคุมขนาดเล็ก
เป็นแผงวงจรอิเด็กทรอนิกส์ที่ใช้ตัวควบคุมขนาดเล็กที่สามารถโปรแกรมได้ เรียกว่า " ไมโครคอนโทรลเลอร์(Microcontroller) " ทำงานร่วมกับวงจรเชื่อมต่อและโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรมใช้งานและสื่อสารข้อมูล
เช่น
แผงวงจร IPST-Link
เป็นแผงวงจรใช้ร่วมกับซอฟแวร์ Scratch เพื่อเรียนรู้การเขียนโปรแกรมแบบบล็อก และเชื่อมต่อกับเซนเซอร์
แผงวงจร IPST MicroBOX
เป็นแผงวงจรสำหรับการควบคุมหลัก โดยมีไทโครคอนโทรลเลอร์ควบคุมการทำงาน โดยการเขียนโปรแกรมจะทำงานผ่านคอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรมภาษา C/C++จากซอฟแวร์ Arduino