Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Asthma, รายชื่อสมาชิก ห้อง 2B - Coggle Diagram
Asthma
การรักษา
-
การรักษาในระยะยาว
-
การควบคุมสิ่งกระตุ้นให้เกิดอาการแพ้ ควรให้คำแนะนำเด็กป่วยบิดามารดา ให้หลีกเสี่ยงสิ่งที่แพ้หรือสิ่งที่กระตุ้นให้หลอดลมเกิดการหดเกร็ง
การฉีดวัคซีนภูมิแพ้ จะทำในรายที่สามารถระบุสิ่งที่แพ้ได้ แต่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้
เช่น ฝุ่น เกสรดอกไม้ เป็นต้น การฉีดวัคซีนภูมิแพ้ไม่แนะนำให้ทำในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี เพราะจะทำให้เกิดผลข้างได้มากกว่าเด็กโต
การวินิจฉัย
-
การตรวจร่างกาย
ขณะมีอาการ
ตรวจพบ ไอ เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก
เสียงหายใจออกยาวขึ้น และหายใจ
มีเสียงวี๊ด โดยเฉพาะขณะหายใจเข้าหรือออกแรงๆ
-
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เปรียบเทียบกรณีศึกษา
CBC พบ
-
-
-
-
-
-
-
Platelet count 283,000 cell/UL.
การตรวจพิเศษ
การทดสอบสมรรถภาพปอด
โดยใช้เครื่องมือ peak expiratory flow meter (PEF)
หรือ spirometer โดยดูค่า FEV 1 และ FVC
ซึ่งทำในเด็กอายุมากกว่า 5 ปี ขึ้นไป
-
-
พยาธิสภาพ
หลอดลมของผู้ป่วยมักไวต่อสารกระตุ้น (bronchial hyperresponsiveness)
เมื่อสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้จะ เกิดการอักเสบในหลอดลม สารก่อภูมิแพ้เหล่านี้
จะกระตุ้น T และ B lymphocyte ให้ผลิตสาร interleukin-3 และ 4 เพื่อกลับไป
กระตุ้นให้ B lymphocyte ผลิต IgE มาตอบสนองต่อตัวกระตุ้น หลังจากนั้น IgE
จะไปกระตุ้น mast cell, macrophages, eosinophils, neutrophils และ lymphocytes ที่ผนังหลอดลมให้หลั่งสารอักเสบออกมาที่ผนังหลอดลม
จนเกิดการเปลี่ยนแปลงของหลอดลม โดยพบมี epithelial cell ของผนังหลอดลม
ลอกหลุด มีการสร้างสาร เมือกมากขึ้นในหลอดลม ส่วน basement membrane
ของผนังหลอดลมมีการหนาตัวขึ้น และเซลล์กล้ามเนื้อหลอดลมเพิ่มจํานวนมากขึ้น พบทั่วทั้งหลอดลมขนาดเล็กและใหญ่
เปรียบเทียบกรณีศึกษา
จากกรณีศึกษาผู้ป่วยพบอาการหายใจเหนื่อยหอบร่วมกับไอมาก
ไอแบบมีเสียงเสมหะ ซึ่งตรงกับพยาธิสภาพที่เมื่อมีสารกระตุ้น
ที่ทำให้เกิดอาการหอบหืด จะทำให้หลอดลมของคนไข้หดตัวง่าย
และเมื่อหลอดลมหดตัวมากกว่าปกติทำให้คนไข้โรคหืด
เกิดอาการหายใจลำบาก และหายใจมีเสียง wheezing
สาเหตุ
2.มีความไวต่อการตอบสนองสารบางชนิดที่เป็นสารก่อภูมิแพ้ (extrinsic หรือ allergic)
เช่น ฝุ่น เกสรดอกไม้ แมลง สปอร์เชื้อรา ขนสัตว์ ควันไฟ ควันบุหรี่ ควันรถ ยา อาหารและ กลิ่นที่รุนแรง
3.ปัจจัยกระตุ้นจากภายใน (intrinsic หรือ non-allergic) เช่น การติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนบน
หรือออกกำลังกายมากเกินไป ความผันแปรของอารมณ์และจิตใจ การเปลี่ยนแปลงของสภาพสิ่งแวดล้อม
เปรียบเทียบกรณีศึกษา
จากผลตรวจทางห้องปฏิบัติการพบ CBC:
-Monocyte 3% ผิดปกติ ต่ำ (ค่าปกติ 4.2-11.3%) ซึ่งเป็นความผิดปกติของเม็ดเลือดขาวต่ำ คือภาวะที่ภายในเลือดมีปริมาณเม็ดเลือดขาวต่ำกว่าปกติ และมีเม็ดเลือดขาวชนิดอีโอซิโนฟิล (Eosinophil) ที่เกี่ยวข้องกับโรคหอบหืด มีสาเหตุมาจากปัจจัยกระตุ้นจากภายใน คือ การติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ
1.พันธุกรรม เด็กที่มีประวัติครอบครัวเป็นโรคภูมิแพ้
มีโอกาสที่จะเกิดอาการของหืดได้สูงกว่าเด็กทั่วไปที่ไม่มีประวัติครอบครัว
อาการเเละอาการแสดง
ไอต่อเนื่องนาน 2-3 สัปดาห์ หายใจมีเสียงหวีด อาจมีอาการอื่นร่วมด้วย
เช่น เหนื่อยหอบ แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก หากอาการหนัก
อาจทำให้หายใจไม่ออก ไม่สามารถรับออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายได้
และไม่สามารถนำคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกายได้
เกิดระบบหายใจล้มเหลวจนถึงขั้นหมดสติและเสียชีวิตในที่สุด
-
-