Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สภาพแวดล้อม ในการพัฒนาประเทศ - Coggle Diagram
สภาพแวดล้อม ในการพัฒนาประเทศ
1.ด้านนโยบายและกฏหมาย
1.2 โครงสร้างการบริหารงานภาครัฐขาดความยืดหยุ่นไม่คล่องตัวยังคงมีกฎระเบียบและกระบวนงานที่ล้าสมัยเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ
โดยมีสาเหตุมาจาก
ปัญหาเชิงโครงสร้างที่มีขนาดใหญ่และรูปแบบการบริหารจัดการภาครัฐยังยึดติดกับขอบอำนาจหน้าที่
การให้ความสำคัญกับการให้ความสำคัญกับขั้นตอนกระบวนการตามระเบียบปฏิบัติของระบบราชการที่ล้าสมัย
1.1 ประเทศให้ความสำคัญกับการพัฒนาต่อยอดภายใต้
กรอบยุทธศาตร์ชาติมีจำนวน 7 สาขา ดังนี้
ภาคเกษตร การเป็นเกษตรอัจฉริยะสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นครัวของโลก ผลิตอาหารที่มีความปลอดภัย
ภาคการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเป็นสาขาการผลิตที่มีมูลค่าเพิ่มสูง ก่อให้เกิดกระบวนการผลิตและให้บริการในการสร้างงานสร้างอาชีพอย่างหลากหลาย
อุตสาหกรรมชีวภาพ กลุ่มเคมีชีวภาพ ได้แก่ วัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตอาหาร กลุ่มชีวะเภสัชภัณฑ์ ได้แก่ กลุ่มชีวภาพ เป็นต้น
อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจร ประกอบด้วยการให้บริการทางการแพทย์การผลิตเครื่องมืออุปกรณ์การแพทย์ เป็นต้น
อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัลข้อมูลและปัญญาประดิษฐ์ ประกอบด้วยกลุ่มอุตสาหกรรมด้านการสื่อสารกลุ่มอุตสาหกรรมด้านดิจิตอล เป็นต้น
อุตสาหกรรมและบริการขนส่งและโลจิสติกส์ ประกอบด้วยการเป็นศูนย์กลางด้านโลจิสติกส์ระดับภูมิภาคการเปลี่ยนแปลงผ่านอุตสาหกรรมยานยนต์ไปสู่อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าอัจฉริยะ
อุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศ ประกอบด้วยกิจกรรมกิจการผลิตและซ่อมยานพาหนะและระบบอาวุธเช่นรถถังรถเกาะ
1.3 การบริหารจัดการภาครัฐในภาพรวมมีความก้าวหน้าอย่างมีนัยสำคัญ
การบริหารจัดการภาครัฐในภาพรวม มีความก้าวหน้าอย่างมีนัยสำคัญในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ. 2561- 2565
เช่น การปรับปรุงกระบวนงานให้บริการประชาชน
การจัดทำแอพพลิเคชั่นเพื่อให้บริการที่เป็นประโยชน์กับประชาชน
ด้านเศรษฐกิจ
2.1 ความยั่งยืนทางการคลังยังคงน่าเป็นห่วง เนื่องจากฐานการจัดเก็บภาษีของไทยค่อนข้างแคบ ประกอบกับผลกระทบทางเศรษฐกิจจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โควิด-19 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิต่ำกว่าประมาณการรายได้และต่ำกว่าการจัดเก็บรายได้สุทธิ
ในขณะเดียวกันจำนวนในขณะเดียวกันจำนวนของประชากรวัยแรงงานที่ลดลงจะยิ่งมีผลกระทบกับความสามารถของภาครัฐในการจัดเก็บภาษีและจะทำให้มีงบประมาณที่เหลือสำหรับค่าใช้จ่ายเพื่อการพัฒนาประเทศลดน้อยลงซึ่งอาจส่งผลต่อความสามารถในการเติบโตทางเศรษฐกิจและการจัดเก็บรายได้ของภาครัฐซึ่งมีแนวโน้มต่ำกว่าประมาณการอยู่แต่เดิม
2.2 ผลิตภัณฑ์การผลิตของไทยเติบโตช้าเมื่อเทียบกับประเทศที่เริ่มพัฒนาประเทศในช่วงเวลาเดียวกันและสามารถยกระดับการพัฒนาประเทศเข้าสู่การเป็นรายได้สูงในช่วงก่อนหน้าการผลิตรวมในภาคอุตสาหกรรมขยายตัวต่ำกว่าภาคเกษตรกรรมและบริการ
2.3 สภาพของแรงงานเพิ่มขึ้นช้าและมีข้อจำกัดในการผลิตแรงงานให้มีสมรรถนะตรงกับความต้องการของตลาด โดยการเพิ่มผลิตภาพแรงงานที่ผ่านมาของไทยยังเป็นไปอย่างล่าช้าเนื่องจากข้อจำกัดในด้านการพัฒนาทักษะของแรงงาน
2.4 ประเทศไทยยังคงต้องพึ่งพาแรงงานต่างด้าวโดยเป็นศูนย์กลางการเคลื่อนย้ายแรงงานที่สำคัญของภูมิภาคอาเซียนทั้งในฐานะประเทศต้นทางทางผ่านและปลายทางของผู้ย้ายถิ่นแรงงานต่างด้าวจึงเป็นหนึ่งนำกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ
2.5 จีนและอาเซียนเป็นกลุ่มประเทศที่มีมีแนวโน้มทวีมีความสำคัญต่อไทยเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนทั้งในสัดส่วนของมูลค่าการส่งออกและจำนวนนักท่องเที่ยวในขณะเดียวกันการเติบโตของขนาดกำลังซื้อภายในประเทศยังคงมีข้อจำกัดจากปัจจัยหลายประการ
4.ด้านเทคโนโลยี
4.2 การลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนาของประเทศบรรลุเป้าหมายแต่อย่างต่ำกว่าประเทศที่มีระดับการพัฒนาใกล้เคียงกันการสร้างสรรค์ผลงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยยังเน้นปริมาณมากกว่าคุณภาพและยังไม่ตรงตามเป้าหมายที่ระบุไว้ในทิศทางการพัฒนาประเทศ
4.1คนไทยทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ ความสามารถเข้าถึงใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมากขึ้น ทักษะการทางด้านการอ่านหรือการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมของคนไทยมีแนวโน้มลดลงโดยสัดส่วนการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการอ่านหาความรู้มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง
ด้านสังคม
3.5 สุขภาวะของคนไทยดีขึ้นแต่ยังคงมีการจัดสรรบริการทางการแพทย์ที่ไม่เท่าเทียม ปัญหาที่ต้องเร่งแก้ไขของคนไทยอยู่ที่การจัดสรรทรัพยากรทางการแพทย์ทางสาธารณสุขที่สำคัญ ทั้งบุคลากรและเครื่องมือทางการแพทย์ยังคงมีความเหลื่อมล้ำระหว่างพื้นที่
3.2 สังคมไทยมีความเปราะบางซึ่งเกิดจากปัญหาเรื้อรังเชิงโครงสร้างที่เป็นรากเหง้าของปัญหาทางสังคม เช่นปัญหาความยากจนปัญหาครอบครัวส่งผลต่อคุณภาพการเลี้ยงดู
3.1 ผลจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีผลต่อการพัฒนาประเทศชาติความพลิกผันและทวีความรุนแรงมากขึ้นทำให้ผลจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีผลต่อการพัฒนาประเทศชาติมีความพลิกผันและทวีความรุนแรงมากขึ้นทำให้วัฒนธรรมการเรียนรู้และการทำงานปรับเปลี่ยนตลอดเวลา
3.6 การฟื้นฟูรักษาฐานทรัพยากรธรรมชาติและป่าไม้ยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายสัดส่วนที่ประมาณของไทยต่อคนทั้งประเทศในขณะเดียวกันไฟป่าได้กลายมาเป็นสาเหตุหลักของการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ที่รุนแรงที่สุดแห่งการบุกรุกทำลาย
3.3 สถานการณ์ความยากจนของประเทศไทยในภาพรวมมีแนวโน้มดีขึ้นตลอดหลายทศวรรษโดยสัดส่วนคนจนลดลงอย่างต่อเนื่อง
3.4ความเหลื่อมล้ำยังคงเป็นปัญหาเรื้อรังที่ต้องเร่งดำเนินการแก้ไข เช่นยังพบความเหลื่อมล้ำ เช่นยังพบความเหลื่อมล้ำในการถือครองทรัพย์สินในระดับสูง
3.7 การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำยังคงมีความเสี่ยงความต้องการใช้น้ำที่เพิ่มสูงขึ้นโดยภาคการเกษตรยังคงเป็นภาคการผลิตที่มีมีการใช้น้ำในสัดส่วนสูงที่สุด ความเสื่อมโทรมของแหล่งน้ำตามธรรมชาติทั้งจากการกระทำของมนุษย์และปัจจัยตามธรรมชาติรวมถึงการเปลี่ยนแปลงของฝนที่ทำให้แหล่งน้ำต้นทุนหลายแห่งมีปริมาณน้ำที่จะกักได้ในแต่ละปีลดลงส่งผลให้ปัญหาการขาดแคลนน้ำยังคงเกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี