Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๑, นางสาวอัยมี่ วัง…
พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๑
หมวด ๑ สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา ๕ คนพิการมีสิทธิทางการศึกษา
(๑) ได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตั้งแต่แรก เกิดหรือพบความพิการจนตลอดชีวิต
(๒) เลือกบริการทางการศึกษา
(๓) ได้รับการศึกษาที่มี มาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา๖ให้ครูการศึกษาพิเศษในทุกสังกัดมีสิทธิไดร้ับเงินค่าตอบแทนพิเศษ
มาตรา ๘ ให้สถานศึกษาในทุกสังกัดจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
มาตรา ๙ ให้รัฐจัดเงินอุดหนุนเพื่อส่งเสริมการวิจัยพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๑๐ ให้ราชการส่วนท้องถิ่นออกข้อบัญญัติ เทศบัญญัติ ข้อกําหนด ระเบียบหรือประกาศ
หมวด ๒ การส่งเสริมการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ
มาตรา๑๑ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ
(๑) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน
(๒) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นรองประธาน
(๓) กรรมการโดยตําแหน่ง จํานวนสิบคน
(๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จํานวนสิบ สี่คน
มาตรา ๑๒ ให้คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่
(๑) เสนอนโยบาย
(๒) เสนอความเห็น
(๓) พิจารณาให้ความเห็นชอบ
(๔) วางระเบียบ
(๕) ส่งเสริมสนับสนุนและ ช่วยเหลือ
(๖) ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกหน่วยงาน
(๗) วางระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารจัดการ กองทุน
(๘) วางระเบียบการพิจารณาอนุมัติการจ่ายเงิน
(๙) วางระเบียบเกี่ยวกับการจัดทํา รายงานสถานะการเงินและการบริหารกองทุน
(๑๐) วางระเบียบเกี่ยวกับการรับเงิน-จ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินกองทุน
(๑๑) วางระเบียบการ กําหนดมาตรฐาน
(๑๒) ปฏิบัติงานอื่นตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่กฎหมายอื่น
มาตรา ๑๓ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระอยู่ในตําแหน่งคราวละสามปี และอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่ต้องไม่เกินสองวาระติดต่อกัน
มาตรา ๑๔ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) เป็นบุคคลล้มละลาย
(๔) เป็นคนไร้ความสามารถ
(5)ได้รับโทษจำคุก
มาตรา ๑๕ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งก่อนครบวาระ รัฐมนตรีอาจแต่งตั้ง ผู้อื่นเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนตําแหน่งที่ว่าง และให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งแทนอยู่ ในตําแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ เว้นแต่วาระของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเหลืออยู่ไม่ถึงหกสิบวัน
มาตรา ๑๖ การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จํานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๑๗ คณะกรรมการอาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา
มาตรา ๑๘ ให้สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษทําหน้าที่เกี่ยวกับงานเลขานุการของ คณะกรรมการ รวมทั้งให้มีหน้าที่
มาตรา ๑๙ ให้สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีหน้าที่ดําเนินการจัดการศึกษาโดยเฉพาะ
มาตรา ๒๐ ให้สถานศึกษาเฉพาะความพิการของรัฐมีหน้าที่จัดการศึกษาตามภารกิจแก่คนพิการ
หมวด ๓ กองทุนส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาสําหรับคนพิการ
มาตรา ๒๑ ให้จัดตั้งกองทุนขึ้น เรียกว่า “กองทุนส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาสําหรับคนพิการ” ในสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา ๒๒ ให้มีคณะกรรมการบริหารกองทุนจํานวน 21 คน
มาตรา ๒๓ ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนมีอํานาจหน้าที่
(๑) บริหารกองทุน
(๒) พิจารณาอนุมัติการจ่ายเงิน
(๓) รายงานสถานะการเงินและการบริหารกองทุนต่อ คณะกรรมการตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด
(๔) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางาน เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่คณะกรรมการบริหารกองทุนมอบหมายบทเฉพาะกาล
มาตรา ๒๔ การรับ-จ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินกองทุนและการตัดหนี้เป็นสูญ ให้เป็นไปตาม ระเบียบ
มาตรา ๒๕ ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนจัดทํางบการเงิน
มาตรา ๒๖ ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕ และมาตรา ๑๖ มาใช้บังคับ
มาตรา ๒๗ ให้โอนบรรดาเงิน ทรัพย์สิน สิทธิหนี้ของกองทุนการศึกษาสําหรับคนพิการ
มาตรา ๒๘ ในวาระเริ่มแรกที่ยังมิได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสําหรับ คนพิการ ให้คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาพิเศษตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ทําหน้าที่จนกว่าจะได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริม การจัดการศึกษาสําหรับคนพิการตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งต้องไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบวัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๒๙ ให้ครูหรือบุคลากรทางการศึกษาที่ผ่านการอบรมวุฒิบัตรครูการศึกษาพิเศษ ตามหลักสูตรที่คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาอนุมัติก่อนการประกาศใช้ พระราชบัญญัตินี้เป็นครูการศึกษาพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้
นางสาวอัยมี่ วัง 642441018