Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
การวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย ประโยชน์ และประเภทของการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หมายถึง งานวิจัยด้านต่างๆ ซึ่งมีเป้าหมายที่จะนำผลงานวิจัยไปใช้ในการนำการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประโยชน์
ให้ความรู้หรือวิทยาการใหม่ๆ เพื่อพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ช่วยแก้ปัญหาข้อขัดข้องของผู้วิจัยหรือผู้เกี่ยวข้อง
ช่วยพัฒนาระบบบริหาร
เผยแพรชื่อเสียงของผู้วิจัย
ประเภทของการวิจัย
เกณฑ์ที่อิงจุดมุ่งหมายของการวิจัย
เกณฑ์ที่อิงการควบคุมตัวแปร
เกณฑ์ที่อิงประเภทของข้อมูล
เกณฑ์ที่อิงเวลาที่เหตุการณ์นั้นๆ เกิดขึ้น
เกณฑ์ที่อิงสาขาวิชา
ลักษณะและประเด็นการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ลักษณะการวิจัย
การวิจัยเชิงสำรวจ
การสำรวจการปฏิบัติงาน ความเชื่อ ทัศนคติ
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและหาข้อมูลสนับสนุนสมมติฐาน
การสำรวจเพื่อประเมินผลการปฏิบัติงานหรือโครงการดำเนินงาน
การวิจัยเชิงศึกษาเฉพาะกรณี
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
ประเด็นการวิจัยในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยทางการเกษตร
การปรับปรุงคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ
ระบบเกษตรกรรมและระบบชลประทาน
การเก็บเกี่ยว การเก็บรักษา และการแปรรูป
การนำผลิตผลและวัสดุเหลือใช้มาใช้
การนำความรู้พื้นฐานทางชีววิทยามาใช้ประโยชน์
การถ่ายทอดเทคโนโลยี
เศรษฐกิจและสังคมที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร
การแก้ไขปัญหาสำคัญหรือปัญหาเร่งด่วนโดยเฉพาะ
การวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีการเกษตร และการปรับใช้
เทคโนโลยีด้านการปรับปรุงบำรุงพันธุ์
เทคโนโลยีด้านการเกษตรกรรม
เทคโนโลยีการให้น้ำ
เทคโนโลยีด้านดินและปุ๋ย
เทคโนโลยีด้านอาหารสัตว์
เทคโนโลยีด้านการดูแลรักษาและการเก็บเกี่ยว
เทคโนโลยีด้านฮอร์โมนและสารเคมี
เทคโนโลยีด้านระบบการปลูกพืช
การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
สภาพพื้นฐานของเกษตรกร
ความต้องการและทัศนคติของเกษตรกร
การรวมกลุ่มของเกษตรกร
ความเป็นผู้นำของเกษตรกร
พฤติกรรมและการวางตัวของเกษตรกร
การพัฒนาและการช่วยเหลือตนเองของเกษตรกร
การวิจัยด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ปัจจัยการผลิต
การอนุรักษ์ทรัพยากร
การตลาด
การแปรรูปและอุตสาหกรรม
สภาพท้องถิ่น
ข้อมูลข่าวสาร
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และพลังงาน
ความสัมพันธ์ระหว่างการวิจัยกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์ประกอบ 4 ส่วน
การวิจัย
การส่งเสริมและพัฒนา
เกษตรกร
นักส่งเสริม
การพัฒนาความสามารถในการวิจัยของนักส่งเสริม
การฝึกอบรม
การศึกษาในสถานการศึกษา
การแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้รู้
การลงมือทำการวิจัยเมื่อมีโอกาส
จรรยาบรรณของนักวิจัยที่นักส่งเสริมควรรู้และปฏิบัติ
นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ
นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำงานวิจัย
นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย
นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาที่ทำการวิจัย
นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรี และสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย
นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด
นักวิจัยพึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ
นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น
นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ
กระบวนการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ขั้นเตรียมการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การกำหนดโจทย์การวิจัย
แหล่งที่มาของโจทย์การวิจัย
สถานการณ์แวดล้อม
ตัวผู้วิจัย
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
หน่วยงานที่ทำการวิจัย
แนวทางในการกำหนดโจทย์การวิจัย
ความสำคัญและประโยชน์ของการวิจัย
ความสนใจและความสามารถของผู้วิจัย
ความสามารถในการหาคำตอบได้ มีข้อมูลเพียงพอ
การกำหนดหัวข้อการวิจัย ชื่อเรื่องการวิจัย และประเด็นสำหรับการวิจัย
ตรงกับประเด็นปัญหาการวิจัย
สั้น กะทัดรัด สื่อความหมายในประเด็นที่วิจัยได้ดี
สามารถออกแบบการวิจัยได้จริงในการปฏิบัติ
การกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ทำให้ผู้วิจัยทราบชัดเจนว่าศึกษาอะไร
ทำให้ผู้วิจัยทราบว่าต้องเก็บข้อมูลที่สำคัญในเรื่องอะไร
ทำให้ผู้อ่านรายงานผลการวิจัยสามารถติดตามและประเมินผลได้
การออกแบบการวิจัย
การกำหนดตัวแปรและสมมติฐาน
ตัวแปร
ตัวแปรอิสระ
ตัวแปรตาม
สมมติฐาน
สมมติฐานการวิจัย
สมมติฐานทางสถิติ
การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรในการวิจัย
กลุ่มตัวอย่าง
มีคุณสมบัติสอดคล้องครอบคลุมลักษณะประชากรทุกประการ
ขนาดพอเหมาะ
การสุ่มตัวอย่าง
ใช้ความน่าจะเป็น
ไม่ใช้ความน่าจะเป็น
การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
การกำหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การกำหนดวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
การจัดทำโครงการวิจัย
ชื่อเรื่องที่จะวิจัย
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
นิยามศัพท์
ระเบียบวิธีวิจัย
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
เครื่องมือการวิจัย
ระยะเวลาดำเนินการวิจัย
แผนการดำเนินการ
สถานที่ทำการวิจัย
ทรัพยากรและงบประมาณที่ต้องการ
ประวัติคณะวิจัย
ขั้นดำเนินการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การสร้างเครื่องมือ
กำหนดข้อมูลที่ต้องการ
คำถามเกี่ยวกับข้อเท็จจริง
คำถามเกี่ยวกับความรู้
คำถามที่เป็นข้อคิดเห็นและทัศนคติ
กำหนดรูปแบบของคำถามที่จะใช้
คำถามแบบเปิด
คำถามแบบปิด
ร่างแบบสอบถาม
ตรวจสอบเพื่อแก้ไขปรับปรุง
จัดทำบรรณาธิการ
ทดลองใช้
การวิเคราะห์ข้อมูล
การเตรียมและตรวจสอบข้อมูลเพื่อวิเคราะห์
การประมวลและวิเคราะห์ข้อมูล
ระดับการวัดตัวแปร
การวัดแบบกลุ่มหรือนามมาตร
การวัดแบบจัดอันดับหรืออันดับมาตร
การวัดแบบช่วงหรือมาตร
การวัดแบบอัตราส่วนหรืออัตราส่วนมาตร
การเลือกใช้สถิติ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
จำนวนกลุ่มตัวอย่าง
การนำเสนอผลการวิเคราะห์
ขั้นสรุปและรายงานผลการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การสรุปผลการวิจัย อภิปรายและเสนอแนะ
การสรุปผลการวิจัย
สรุปผลเฉพาะประเด็นสำคัญ
ไม่ต้องกล่าวอ้างอิงหรือแสดงความคิดเห็นใด ของผู้วิจัย
ไม่ต้องนำเสนอตาราง ภาพที่ซับซ้อน
ตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัยและอยู่ภายในขอบเขตของการวิจัย
ตรงตามข้อเท็จจริงของข้อมูล
การอภิปรายผล
อธิบายถึงเหตุผลที่ทำให้ได้ผลการวิจัยเช่นนั้น
ผลการวิจัยสนับสนุนหรือค้านแย้งกับทฤษฎีที่กล่าวไว้
เปรียบเทียบกับผลการวิจัยของผู้อื่น
ข้อเสนอแนะ
การนำไปใช้ประเยชน์อย่างไร
การทำวิจัยต่อไป
การจัดทำรายงานผลการวิจัย
ประโยชน์ของการเขียนรายงานผลการวิจัย
ประเภทของรายงานผลการวิจัย
หลักการเขียนรายงานผลการวิจัย
ส่วนประกอบของรายงานผลการวิจัย
ส่วนนำ
ส่วนเนื้อหา
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล หรือผลการวิจัย
บทที่ 5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ
ส่วนอ้างอิง
ข้อควรคำนึงในการเขียนรายงานผลการวิจัย
ความถูกต้องและครบถ้วน
ความชัดเจน
ความต่อเนื่อง
ความสำคัญ
ความเป็นจริง
การอ้างอิง
การเผยแพร่และนำผลงานวิจัยไปใช้เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การประเมินคุณภาพงานวิจัย
เพื่อการวินิจฉัย
เพื่อการสรุปผล
เพื่อการคัดเลือก
การนำผลการวิจัยใช้ประโยชน์
การนำผลการวิจัยตีพิมพ์ในวารสาร
การเผยแพร่ผลงานวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเผยแพร่ผลงานวิจัยในรูปบทความด้วยการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
การเผยแพร่ผลงานวิจัยด้วยการนำเสนอในที่ประชุมวิชาการ
การนำผลงานวิจัยไปใช้เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการกำหนดนโยบาย
การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการกำหนดนโยบายหลัก
การนำผลงานวิจัยไปใช้กำหนดนโยบายการบริหาร
การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการกำหนดนโยบายเฉพาะกิจ
ข้อควรคำนึงในการนำผลงานวิจัยไปใช้ในการกำหนดนโยบาย
คำนึงถึงเหตุผล และความเป็นไปได้ของการนำเอาผลงานวิจัยไปใช้
ผลงานวิจัยที่จะนำมาใช้ต้องดำเนินถูกต้องตามกระบวนการวิจัย
การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการวางแผน
การนำผลการวิจัยไปใช้ในกระบวนการวางแผน
การวิเคระห์สภาพพื้นที่
การกำหนดวัตถุประสงค์
การกำหนดโครงการและแผนงาน
การติดตามและประเมินผล
การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการนำแผนไปปฏิบัติ
มีการศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลอย่างมีระบบตามแผน
ใช้กระบวนการวิจัยในการวัด/ประเมินความเข้าใจ
ใช้การวิจัยในการติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการนำแผนไปปฏิบัติ
การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
การพัฒนางาน
นำผลงานวิจัยไปถ่ายทอดให้ความรู้แก่เกษตรกร
การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการกระตุ้น ชี้แนะ และร่วมแก้ไขปัญหา
การนำผลงานวิจัยไปประสานงาน
พัฒนานักส่งเสริม และองค์กร
พัฒนาเกษตรกร และชุมชน
นำผลงานงิจัยที่เกษตรกร/ชุมชน เข้ามามีส่วนร่วม แก้ปัญหาได้ตรงจุด
เกษตรกรนำข้อมูลไปอ้างอิงได้
เกษตรกรสามารถต่อยอดงานวิจัย สร้างนวัตกรรมใหม่ๆ
การสร้างความตระหนักให้เกษตรกรเห็นความสำคัญของการใช้ข้อมุลที่ผ่านการคิดวิเคราะห์ เป็นแนวทางแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน