Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดสร้างสรรค์ในการบริหารและการสื่อสารเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร -…
แนวคิดสร้างสรรค์ในการบริหารและการสื่อสารเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์
ความหมาย องค์ประกอบ และลักษณะความคิดสร้างสรรค์
ความหมายของความคิดสร้างสรรค์
การขยายขอบเขตความคิดให้ไกลกว่าเดิม
ประเภทของความคิด
แบ่งตามความสนใจของนักจิตวิทยา
ความคิดรวบยอด
การคิดหาเหตุผล
ความคิดสร้างสรรค์
แบ่งตามลักษณะทั่วไปมี 2 แบบ
การคิดแบบประเภทสัมพันธ์
ความคิดโดยตรงที่ใช้ในการแก้ปัญหา
แบ่งตามขอบเขตความคิด
การคิดในระบบปิด
การคิดในระบบเปิด
แบ่งตามความคิดโดยอาศัยสิ่งเร้า
การคิดแบบวิเคราะห์
การคิดแบบโยงความสัมพันธ์
ผู้ชนะ 10 คิด
กาาคิดเชิงอนาคต
การคิดเชิงวิพากษ์
กาคิดเชิงบูรณาการ
การคิดเชิงวิเคราะห์
การคิดเชิงกลยุทธ์
การคิดเชิงสังเคราะห์
การคิดประยุกต์
การคิดเชิงเปรียบเทียบ
การคิดเชิงสร้างสรรค์
การคิดเชิงมโนทัศน์
องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์
ความคิดคล่องตัว หรือความพรั่งพรูในการคิด
การคิดยืดหยุ่น
ความคิดริเริ่ม
ความคิดละเอียดลออ
ลักษณะของความคิดสร้างสรรค์
ลักษณะทางกระบวนการ
ลักษณะของบุคคล
ลักษณะทางผลิตผล
กระบวนการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
ลักษณะพื้นฐานของผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์
ความคิดริเริ่ม
ความยืดหยุนในการคิด
ความคล่องในการคิด
แรงจูงใจ
ความรู้สึกไวต่อปัญหา
อุปสรรค์ของความคิดสร้างสรรค์
คิดตามความเคยชิน
ไม่สนใจสิ่งที่ท้าทายความคิด
จำกัดความคิดตนเอง ไม่ชอบคิดเกินขอบเขต
ประเมินความคิดเร็วเกินไป
ต้องการคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว
กลัวถูกมองว่าโง่
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
การคิดอย่างมีเหตุผล
รอบคอบ
การคิดละเอียดชัดเจน
การคิดไกล
การคิดริเริ่ม
การคิดเชิงลึกซึ้ง
การคิดวิเคระห์
การคิดดี คิดถูกทาง
การคิดหลากหลาย
องค์ประกอบในการพัฒนาการคิดสร้างสรรค์
การฝันกลางวัน
การระลึกถึงความขัดแย้งในอดีตที่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บทางจิตใจ
การอยู่เฉย
ความเชื่ออะไรง่ายๆ
การอยู่คนเดียวตามลำพัง
การตื่นตัวในระเบียบวินัย
การบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรอย่างสร้างสรรค์
ความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความสัมคัญด้านสังคมเกษตรกรรม
ทำให้เกิดนวัตกรรมทางการเกษตร
ทำให้เกษตรกรเป้าหมายเกิดการเปลี่ยนแปลงในแนวทางการทำการเกษตรแบบใหม่ๆ
เป็นสิ่งสำคัญในการช่วยแก้ไขปัญหาเกษตรกร
สังคมเกษตรกรรมมีความก้าวหน้า มั่นคง ทันสมัย
ความสำคัญด้านนักบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ทำให้ชวิตไม่ซ้ำซากจำเจไร้เป้าหมาย
ช่วยในการพัฒนาตนเองพัฒนาสมองให้เฉลัยวฉลาดและประสบความสำเร็จในชีวิต
ยกระดับความสามารถของตนเองและก้าวหน้าในอาชีพการงาน
สร้างความเชื่อมั่น น่าเคารพนับถือ และสร้างความเชื่อถือให้เกิดขึ้น
การบริหารองค์กรส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรอย่างสร้างสรรค์
การบริหารงานองค์กรส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
กฎข้อ 1 ทักษะในการพัฒนาตนเองเพื่อการบรรลุเป้าหมาย
กฎข้อ 3 การสร้างวิสัยทัศน์ร่วม
กฎข้อ 4 การเรียนรู้ของทีม
กฎข้อ 2 โลกทัศน์
กฎข้อ 5 ความคิดเชืงระบบ
องค์กรมีการเรียนรู้จากบทเรียนในอดีต
องค์กรมีการเรียนรู้จากผู้อื่น
องค์กรมรการทดลองปฎิบัติ
องค์กรมีการถ่ายทอดความรู้
องค์กรมีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
การบริหารองค์การส่งเสริมการเกษตรให้เป็นองค์กรแห่งความสุข
Happy Body
Happy society
Happy Brain
Happy soul
Happy Relax
Happy money
Happy Heart
Happy family
การแก้ปัญหาและการสร้างบรรยากาศการทำงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรอย่างสร้างสรรค์
ข้อควรพึงระวังก่อนการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
ระบุปัญหาไม่ถูกต้อง
ปัญหานั้นเกินกำลังตวามสามารถของตนเอง
ไม่คิดแบบใหม่ใช้แต่วิธีเดิม
ลืมคนที่ใกล้ชิดปัญหามากสุด
ขาดเกณฑ์ที่ดีในการตัดสินใจ
กำหนดวิธีการแก้ปัญหาก่อนที่จะวิเคราะห์ปัญหาอย่างจริงจัง
ข้อมูลน้อยเกินไป
ขอบเขตของปัญหากว้างเกินไป
หลงวิชาการ
ใช้อารมณ์ไม่ใช้เหตุผล
หลงประสบการณ์
การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
ขั้นตอนที่ 2 การคิดวิธีการแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ 1 การเข้าถึงปัญหา
ขั้นตอนที่ 4 การวางแผนการแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ 5 การลงมือปฏิบัติ
ขั้นตอนที่ 3 การเลือกและการเตรียมการ
เทคนิคการใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการทำงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เชื่อว่าปัญหาทุกเรื่องสามารถแก้ไขได้
กล้ายอมรับการตัดสินใจของผู้ร่วมงาน
มีความสงสัยใคร่รู้
ชอบความท้าทาย
การนำความคิดสร้างสรรค์มาใช้เพื่อการสื่อสารในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์ประกอบของการสื่อสารในการบริหารการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์ประกอบของการสื่อสารในการบริหารการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เนื้อหาสาร
สื่อหรือช่องทางการสื่อสาร
ผู้ส่งสาร
ผู้รับสาร
องค์ประกอบการสื่อสารระหว่างบุคคล
ผู้ส่งสาร
กระบวนการสื่อสาร
การป้อนกลับ
ผลของการสื่อสาร
การเข้ารหัสและการถอดรหัส
สื่งรบกวนหรืออุปสรรคการสื่อสาร
ช่องทางการสื่อสาร
กรอบประสบการณ์ร่วม
สาร
บริบททางการสื่อสาร
ผู้รับสาร
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
มีลักษณะเด่น 3 ประการ
ช่องทางสื่อ
ผู้ส่งสาร
บริบททางการสื่อสาร
ผู้เฝ้าประตูข่าวสาร
ผู้รับสาร
การสื่อสารเป้าหมายการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เป้าหมายการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เพื่อให้บุคคลหรือกลุ่มเป้าหมายเกิดการพัฒนาในด้านการเกษตร
ลักษณะเป้าหมาย
การกำหนดเป้าหมายรานอาทิตย์-รายเดือน
การกำหนดเป้าหมายระยะสั้น
การกำหนดเป้าหมายระยะยาว
ข้อดีของการกำหนดเป้าหมาย
สามารถลำดับความสำคัญของเป้าหมายการทำงานได้ถูกต้อง
ผลที่เกิดจากเป้าหมายที่สำเร็จ จะสร้างแรงศรัทธา
สร้างแรงจูงใจผู้ใต้บังคับบัญชา
เพิ่มความสามัคคีในองค์กร
การกำหนดเป้าหมายเป็นการท้าทายผลงานที่ดี
การสื่อสารเพื่อในบรรลุเป้าหมายของการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ข้อความที่สื่อต้องง่ายแต่มีความหมายลึกซึ้ง
ลงทุนเพื่อไปให้ถึงเป้าหมาย
ความเร้าใจของเป้าหมาย
แนวทางในการบรรลุเป้าหมาย
การสื่อสารที่ดีจึงควรสื่อด้วยข้อความที่เข้าใจง่าย
การสร้างสรรค์สื่อเพื่อการสื่อสารในการบริหารการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเลือกสื่อเพื่อการสื่อสารในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สื่อบุคคล
สื่อวิทยุโทรทัศน์
สื่อวิทยุกระจายเสียง
สื่อกิจกรรม
สื่อสิ่งพิมพ์
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
อินเตอร์เน็ต
การสร้างสรรค์เพื่อการสื่อสารในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เป้าหมายในการบริหารการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเผยแพร่สื่อ
การกำหนดเป้าหมายและจุดมุ่งหมาย
การนำเสนอสื่อ
การเตรียมเนื้อหาและข่าวสาร
การทดลองใช้สื่อกลับกลุ่มเป้าหมาย
การสำรวจปัญหาและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
การปรับปรุงสื่อที่พัฒนาขึ้น
การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย
ดำเนินการผลิตสื่อ
การนำสื่อไปใช้เพื่อการเผยแพร่สารสนเทศ
การวางแผน
การติดตามและประเมินการสื่อสาร
การเตรียมการ
การนำเสนอสื่อ