Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Comprehensive Geriatric Assessment Form, ปริมาณปัสสาวะที่กลั้นไม่อยู่,…
Comprehensive Geriatric Assessment Form
Functional
แบบประเมินคัดกรอง Barthel ADL :
การแปลผล
5-7 คะแนน ผู้สูงอายุต้องการพึ่งพาผู้อื่นเป็นส่วนมากlow (initial score, severe dependence)
9-11 คะแนน ผู้สูงอายุต้องการพึ่งพาผู้อื่นปานกลาง : (intermediate initial score, moderately severs dependence)
0-4 คะแนน ผู้สูงอายุต้องการพึ่งพาผู้อื่นทั้งหมด
(very low initial score, total dependence)
12-20 คะแนน ผู้สูงอายุต้องการพึ่งพาผู้อื่นเพียงเล็กน้อย : (intermediate high, mildly severs dependence, consideration of discharging home)
การจัดกลุ่มผู้สูงอายุตามการประเมินเพื่อคัดแยก
กลุ่มที่ 2 ผู้สูงอายุที่ดแลตนเองได้ บ้าง (กลุ่มติดบ้าน) ADL 5 – 11คะแนน
กลุ่มที่ 3 ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งตนเอง ไม่ได้ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการ หรือทพุพลภาพ (กลุ่มติดเตียง) มี ผลรวมคะแนน ADL ในช่วง 0-4 คะแนน
กลุ่มที่ 1 ผู้สูงอายุที่พึ่งตนเองได้ช่วยเหลือผู้อื่น ชมชนและสังคมได้ (กลุ่มติดสังคม) มีผลรวม ADL ≥ 12 คะแนน
คำแนะนำ
กลุ่มติดเตียง
ผู้สูงอายุ
กายภาพบำบัด (ด้วยตนเองบุคคลอื่น) เพื่อบำบัด ฟื้นฟูกล้ามเนื้อต่างๆ โดยปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์/นักกายภาพบำบัด
ฝึกบริหารจิตให้ปลอดโปร่ง แจ่มใส ลดความเครียด และวิตกกังวล
รู้จักคุณค่าในตนเอง
ครอบครัว
สร้างความรู้ความเข้าใจในครอบครัว เรื่อง การดูแล และความเข้าใจความเสื่อมถอยของผู้สูงอายุ
ครอบครัวให้กำลังใจกับผู้สูงอายุ โดยพูดคุย รับฟัง จับมือ สัมผัสร่างกาย และโอบกอด เป็นต้น
ดูแลสุขภาพกายและจิตใจ อย่างใกล้ชิด
ดูแล เรื่อง การรับประทานยา การทำกายภาพบำบัด การป้องกันเป็นแผลกดทับ แผลติดเชื้อ ให้เป็นไปตามแพทย์สั่ง
ปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมและปลอดภัยกับผู้สูงอายุ เช่น เตียงของผู้สูงอายุไม่ควรสูงจากพื้นประมาณ45 เซนติเมตร และควรมีราวกั้นเพื่อป้องกันการพลัดตกลงมา อากาศถ่ายเทสะดวกติดตั้งสัญญาณขอความช่วยเหลือไว้ไว้ตามจุดต่างๆที่ผู้สูงอายุเข้าถึงได้ง่ายและรวดเร็ว เป็นต้น
ดูแลเรื่องความสะอาดและสุขอนามัยบริเวณโดยรอบที่ผู้สูงอายุพักอาศัย เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ดูแลให้ผู้สูงอายุได้รับประทานสารอาหารครบตามความจำเป็นของร่างกาย และเหมาะสมกับโรค
กลุ่มติดสังคม
ผู้สูงอายุ
ดูแลตนเองด้านร่างกาย และจิตใจ
ติดตามข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อต่างๆ ให้มีความรู้เท่าทันข่าวสาร เพื่อป้องกันการถูกละเมิด
เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม
ครอบครัว
สร้างความรู้ความเข้าใจในครอบครัว เรื่อง การดูแล และความเข้าใจความเสื่อมถอยของผู้สูงอายุ
เฝ้าระวัง สอดส่อง สังเกตการณ์เอาใจใส่ ดูแลอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันภัยต่างๆ รอบตัวผู้สูงอายุ
สมาชิกในครอบครัวมีการพูดคุยให้กำลังใจ รับประทานอาหารร่วมกัน ทำกิจกรรมร่วมกัน เป็นต้น
พาผู้สูงอายุตรวจสุขภาพประจำปี
ปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมและปลอดภัยกับผู้สูงอายุ เช่น พื้นไม่ลื่น มีระดับเรียบ ไม่มีขั้นที่จะทำให้สะดุดล้ม แสงสว่างเพียงพอ เป็นต้น
กลุ่มติดบ้าน
ผู้สูงอายุ
ทำกิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพกายและจิตใจให้กับตนเอง
เข้าร่วมกิจกรรมกับครอบครัว และชุมชน เช่น รับประทานอาหารร่วมกัน เข้าร่วมชมรมผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นต้น
ฝึกอาชีพให้เหมาะสมและมีความถนัดกับตนเอง เพื่อนำไปประกอบอาชีพ
รู้จักคุณค่าในตนเอง
ครอบครัว
สร้างความรู้ความเข้าใจในครอบครัว เรื่อง การดูแล และความเข้าใจความเสื่อมถอยของผู้สูงอายุ
จัดกิจกรรมร่วมกันภายในครอบครัว เช่น พูดคุย ทำอาหารร่วมกันรับประทานอาหาร และปลูกต้นไม้ร่วมกัน เป็นต้น
กระตุ้นและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุทำกิจกรรมของครอบครัว ขมรม ชุมชน วัด และกิจกรรมตามประเพณีต่างๆ เป็นต้น
พาผู้สูงอายุตรวจสุขภาพประจำปี
ดูแลเรื่อง การรับประทานยาให้เป็นไปตามแพทย์สั่ง
ปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมและปลอดภัยกับผู้สูงอายุ เช่น พื้นไม่ลื่น มีระดับเรียบไม่มีขั้นที่จะทำให้สะดุดล้ม แสงสว่างเพียงพอติดตั้งสัญญาณขอความช่วยเหลือไว้ตามจุดต่างๆ เป็นต้น
Movement
แบบประเมินภาวะเปราะบางในผู้สูงอายุ
(The Phenotype Of frailty)
เกณฑ์การประเมิน :
ประกอบด้วยเกณฑ์ 5 ข้อ
ถ้ามีลักษณะทางคลินิกอย่างน้อย 3 ใน 5 ของเกณฑ์
แสดงว่ามีภาวะเปราะบาง (frailty)
คำแนะนำ
ควบคุมอาการไม่สุขสบายต่างๆ
ดำรงหน้าที่ของร่างกายให้มากที่สุด
ป้องกันการเกิดโรค ค้นหาโรคอื่นๆและการเสื่อมถอย
การดูแลระยะสุดท้าย การดูแลที่ไม่ก่อให้เกิดอันตราย
ถ้ามี 1-2 ข้อ วินิจฉัยว่ามีความเสี่ยงต่อภาวะเปราะบาง
(pre frail)
คำแนะนำ
ออกกำลังกาย ทั้งออกกำลังกายต้านทานและการออกกำลังกายแอโรบิก
ฝึกออกกำลังกาย รวมถึงความต้านทานการยกน้ำหนัก ออกกำลังกายขนาดใหญ่ของกลุ่มกล้ามเนื้อโครงร่าง ช่วยเพิ่มมวลกล้ามเนื้อในร่างกาย เพิ่มความแข็งแรงการออกกำลังกาย ความอดทนและความเร็วในการเดิน
ไทชิ เป็นการออกกำลังกายที่ช้าและอ่อนโยนเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวทางกายภาพและการทำสมาธิที่จะปรับปรุงความสมดุลและการเดิน
ทานอาหารเสริม โดยเพิ่มระหว่างมื้ออาหาร อาหารเสริมโปรตีนช่วยในการรักษามวลกล้ามเนื้อ นอกจากนี้อาจรวมถึงยาที่ ใช้ในการเพิ่มความอยากอาหาร การประเมินภาวะโภชนาการโดยใช้แบบประเมิน Mini Nutritional Exam สามารถใช้สำหรับ การประเมินภาวะโภชนาการเพิ่มเติมได้ รวมถึงการรับประทานอาหารร่วมกันในครอบครัว
บำรุงรักษาสุขภาพช่องปาก แปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันอย่างน้อย 2 ครั้งต่อวัน จำกัดปริมาณน้ำตาล เช่น โซดาและขนม รวมถึงตรวจฟันอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ประเมินสิ่งแวดล้อมของบ้านหรือที่อยู่อาศัยในพื้นที่ รวมถึงความปลอดภัย เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดการพลัดตกหกล้ม สร้างราวจับในห้องอาบน้ำ ฝักบัวอาบน้ำที่มีที่นั่งปรับความสูงเคาน์เตอร์ ตู้ประตูกว้างสีตัดกันของเคาน์เตอร์ พื้น ผนัง และ พื้นผิวไม่ลื่น ลาดเอียง แสงที่เหมาะสมและระบบกดเรียกฉุกเฉิน
คนในครอบครัวมีความรู้ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของภาวะเปราะบาง สามารถดูแลผู้ป่วยอย่างถูกต้อง
Osteoporosis Self-Assessment
Tool for Asians (OSTA)
เป็นการประเมินความเสี่ยงในการเกิดโรคกระดูกพรุนโดยคำนวณจากอายุ และน้ำหนักตัว เพื่อตรวจหาระดับความเสี่ยงในการเกิดภาวะกระดูกพรุน
สูตรคำนวณ 0.2 x น้ำหนัก (กิโลกรัม) - อายุ (ปี)
การแปลผล
น้อยกว่า -4 มีความเสี่ยงสูง
ระหว่าง -4 ถึง -1 มีความเสี่ยงปานกลาง
มากกว่า -1 มีความเสี่ยงต่ำ
คำแนะนำ
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง เช่น นม
ในเด็กและวัยรุ่นควรดื่มนมวันละ 2-3 แก้ว ส่วนผู้ใหญ่และผู้สูงอายุให้ดื่มนมพร่องมันเนยวันละ 1-2 แก้วเป็นประจำ ซึ่งจะทำให้ได้รับแคลเซียมร้อยละ 50 ของปริมาณที่ต้องการ ส่วนแคลเซียมที่ยังขาดอยู่ให้รับประทานจากอาหารแหล่งอื่นๆเช่น โยเกิร์ต ปลาเล็ก
ปลาน้อย กะปิ กุ้งแห้งและควรรับประทานอาหารที่วิตามินดีสูง เช่น นม เนยแข็ง ไข่
เพื่อร่างกายสามารถดูดแคลเซียมได้ดีขึ้น
หลีกเลี่ยงผักที่มีออกซาเสตสูงมาก เช่น ปวยเล้ง ผักโขม ผักติ้ว ผักเม็ก ผักหวานป่า ซึ่งเป็นสารมีฤทธิ์ยับยั้งการดูดซึมของแคลเซียมและแร่ธาตุที่สำคัญหลายชนิดในกระแสเลือด
งดสูบบุหรี่ ดื่มสุรา ชา กาแฟ น้ำอัดลมให้น้อยลง
หลีกเลี่ยงรับประทานอาหารประเภทโปรตีนหรือเนื้อสัตว์มากเกินไป, การรับประทานอาหารเค็มจัดหรืออาหารที่มีโซเดียมสูง, การใช้ยาบางชนิดเป็นประจำ,การลดน้ำหนักอย่างรวดเร็ว เป็นต้น
ออกกำลังกายเป็นประจำ กลางแดดอ่อนๆ เพราะการได้รับแสงแดดจะเพิ่มการสังเคราะห์วิตามินดีทางผิวหนัง และการออกกำลังกายที่มีการถ่วงหรือต้านน้ำหนัก เช่น วิ่ง การเดิน กระโดดเชือก วอลเล่ย์บอล จะช่วยให้กล้ามเนื้อแข็งแรง ช่วยเพิ่มความแข็งแรงให้กระดูก
ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ไม่ควรใช้ยาลูกกลอน ซึ่งอาจจะมีสารเสตียรอยด์
แบบประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ (Thai falls risk assessment test Thai-Fast)
การประเมินผล
• คะแนนต่ำกว่า 4 คะแนน หมายถึง มีความเสี่ยงต่ำต่อการพลีดตกหกล้ม
•คะแนน 4-11 คะแนน มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม ต้องขอเข้ารับคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรสาธารณสุข เรื่องปัจจัยเสี่ยงและการป้องกัน
คำแนะนำ
•สำหรับผู้ที่มีความบกพร่องของการมองเห็นให้ไปพบแพทย์หรือเจ้าหน้าที่เพื่อรับการตรวจยืนยันและแก้ไข
•ผู้สูงอายุควรอาศัยอยู่บ้านชั้นเดียว กรณีบ้าน2ชั้น ควรจัดให้อยู่ชั้นล่าง
•ควรมีแสงสว่างเพียงพอทั้งในบ้านและบริเวณบ้าน โดยเฉพาะบริเวณทางเดิน บันไดและห้องน้ำ
• พื้นและทางเดินเรียบเสมอกัน ไม่ลื่น ไม่เปียก ไม่มีสิ่งกีดขวาง หลีกเลี่ยงการยกระดับสูงต่ำไม่เท่าก็
ไม่ควรมีธรณีประตู ควรใช้ลูกบิดหรือมือจับประตูแบบก้านโยก และเป็นประตูแบบบานเลื่อน
• บันไดมีราวจับ 2 ข้าง สูงจากพื้น 80 เซนติเมต บันไดลูกตั้งสูงไม่เกิน 15 เซนติเมตร
ลูกนอนไม่น้อยกว่า 28 เซนดิเมตร มีแถบสีบอกขั้นบันไดที่ชัดเจน และไม่ลื่น
• ห้องนอนควรใช้เตียงที่มีความสูงระดับข้อพับเข่า (40 - 45 เซนติเมตร) เพื่อให้ลุกขึ้นได้สะดวก
แบบประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม (Morse)
ระดับความเสี่ยง
คะแนน 0 - 24 หมายถึง ไม่มีความเสี่ยงต่อการลื่น/ตก/หกล้ม
ดูแลเฝ้าระวังการพัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ
ให้คำแนะนำญาติหรือผู้ดูแล เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงต่อการพัดตกหกล้ม เช่น การจัดสิ่งแวดล้อมภายในบ้าน วางของให้เป็นระเบียบ ไม่ขวางทางเดิน
คะแนน 25 - 50 หมายถึง มีความเสี่ยงต่อการลื่น/ตก/หกล้ม
ให้ข้อมูลแก่ผู้สูงอายุและญาติหรือผู้ดูแล ในเรื่อง ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดพลัดตกหกล้ม วิธีการระวังป้องกันร่วมกัน ส่ิงแวดล้อมและสิ่งของ
จัดให้มีแสงสว่างเพียงพอ โดยเฉพาะบริเวณเตียงและห้องน้ำ
คะแนน ≥ 51 หมายถึง มีความเสี่ยงสูงต่อการลื่น/ตก/หกล้ม
จัดให้มีผู้ดูแลอย่างใกล้ชิด และพิจารณาความจาเป็นในการผูกยึดโดยปฏิบัติตามมาตรฐาน
ของการผูกยึด หากไม่อยู่กับผู้สูงอายุให้แจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบทุกครั้ง
ย้ายผู้สูงอายุไปไว้ใกล้ Nurse's station หรือบริเวณที่พยาบาลสามารถดูแลได้อย่างใกล้ชิด
แบบประเมินคัดกรอง IADL
แบบประเมินกิจวัตรประจำวัน IADL (Chula)
การแปลผล
5-8 คะแนน ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันปานกลาง (ติดบ้าน)
9 คะแนน ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันมาก
(ติดสังคม)
0-4 คะแนน ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันน้อย
(ติดเตียง)
แบบประเมิน IADL (Lonton)
การแปลผล
พศชายให้ช่วงคะแนน 0-5 คะแนน ถือว่าดี
0 คะแนน แสดงว่าพึ่งพามาก
8 คะแนน คือ ดี สำหรับผู้หญิง
Urinary Incontinence
เเบบประเมินการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ความบ่อยของการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
2) ปานกลาง/หลายๆ วันครั้ง หรือเดือนละ 2 ครั้งขึ้นไป
3) มาก/กือบทุกวัน หรือวันละตั้งแต่ 1 ครั้งขึ้นไป
(1) เล็กน้อย/เดือนละครั้ง หรือน้อยกว่านี้
คำแนะนำ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน
•ก่อนเข้านอน 3-4 ชั่วโมง ควรดื่มน้ำให้น้อยลง
•รับประทานอาหารที่มีกากใยสูง ป้องกันท้องผูก
•ดื่มน้ำในปริมาณที่เหมาะสม 2000-3000 ml/day
•งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือคาเฟอีน เช่น กาแฟ น้ำชา
•หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นให้เกิดการไอ จาม เช่น กลิ่นบุหรี่ ฝุ่นละออง
•ควบคุมน้ำหนักตัวให้เหมาะสม
ผู้สูงอายุควรฝึกการบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานทุกวัน เพราะสามารถช่วยลดอาการปัสสาวะเล็ดได้ แต่หากมีอาการที่รุนแรงควรปรึกษาแพทย์เพื่อรักษา
การบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
•นั่งเก้าอี้ในท่าที่รู้สึกสบาย ยกมือทั้งสองข้างระดับหน้าอกและกำลูกบอลไว้ในมือ
•เกร็งกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานพร้อมบีบลูกบอลไว้ 10 วินาที
•เมื่อครบ 10 วินาที ให้ผ่อนคลายจากท่าเกร็ง และคลายมือจากการบีบลูกบอลพร้อมนับ 10 วินาที นับเป็น 2 ครั้ง
•ทำท่าบริหารนี้ 60 ครั้งต่อวัน สามารถแบ่งทำได้ 3 ช่วงเวลา เช่น เช้า กลางวัน และเย็น ช่วงเวลาละ 20 ครั้ง
Sensory
Finger rub test
เกณฑ์การประเมิน
ถ้าตอบ “ไม่ได้ยิน” หูข้างใดข้างหนึ่ง ถือว่าหูข้างนั้นมีปัญหาการได้ยิน
คำแนะนำ
1.อธิบายให้ผู้สูงอายุเข้าใจว่าสาเหตุของปัญหาการได้ยินเกิดจากอะไร เป็นอันตรายหรือไม่และจะหายหรือไม่
2.ถ้ามีปัญหาการได้ยินไม่มาก ยังพอได้ยินเสียง ไม่รบกวนคุณภาพชีวิตประจำวันมากนักคือยังพอสื่อสารกับผู้อื่นได้ หรือเป็นเพียงหูข้างเดียวไม่จำเป็นต้องรักษา เพียงแต่ทำใจยอมรับและควรหาสาเหตุ
3.ถ้ามีปัญหาการได้ยินมากโดยเฉพาะเป็นทั้ง 2 ข้างและรบกวนชีวิตประจำวันมากคือไม่สามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้และเกิดจากสาเหตุที่ไม่สามารถแก้ไขได้ ควรฟื้นฟูสมรรถภาพการได้ยินด้วยการใช้เครื่องช่วยฟังซึ่งจะช่วยบรรเทาปัญหาได้ระดับหนึ่ง ต้องร่วมกับการจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะแก่การแยกแยะเสียงได้ชัดเจนขึ้น เช่น ลดเสียงรบกวนและให้คู่สนทนาอยู่ตรงหน้า ไม่พูดเร็วหรือพูดประโยคยาวเกินไปเพื่อจะได้จับใจความได้ชัดเจนขึ้น ซึ่งจะทำให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและครอบครัวดีขึ้น
4.ถ้าปัญหาการได้ยินเกิดจากประสาทรับเสียงเสื่อมควรป้องกันไม่ให้เสื่อมมากขึ้น โดย
-หลีกเลี่ยงเสียงดัง
-ถ้าเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคไต โรคกรดยูริกในเลือดสูง โรคเลือด โรคซีด ต้องควบคุมให้ดีเพราะเหล่านี้ทำให้เลือดไปเลี้ยงประสาทหูน้อยลง ทำให้ประสาทรับเสียงเสื่อมมากหรือเร็วขึ้นกว่าที่ควรจะเป็น
-หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีพิษต่อประสาทหู
-หลีกเลี่ยงอุบัติเหตุหรือการกระทบกระเทือนบริเวณหู
-หลีกเลี่ยงการติดเชื้อของหูหรือระบบทางเดินหายใจส่วนบน
-ลดอาหารเค็ม เครื่องดื่มที่มีสารกระตุ้นประสาท เช่น กาแฟ ชา น้ำอัดลม (มีสารคาเฟอีน) งดสูบบุหรี่(มีสารนิโคติน) เพราะทำให้เลือดไปเลี้ยงประสาทหูลดลง ประสาทรับเสียงเสื่อมมากหรือเร็วขึ้นกว่าที่ควรจะเป็น
-ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ลดความเครียด วิตกกังวลและนอนพักผ่อนให้เพียงพอ
Snellen chart
เกณฑ์การประเมิน
ถ้าอ่านได้ถึงแถวที่ 7 แสดงว่า สายตาปกติ
ถ้าอ่านได้น้อยกว่าแถวที่ 7 แสดง สายตาผิดปกติ ต้องส่งต่อจักษุแพทย์
Mental Health
แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม (2Q)
ถ้าคำตอบ มี ข้อใดข้อหนึ่ง หรือทั้ง 2 ข้อ (มีอาการใดๆในคำถามที่ 1 และ 2 หมายถึง “เป็นผู้ที่มีความเสี่ยง”หรือ “มีแนวโน้มที่จะเป็นโรคซึมเศร้า” ให้ประเมินต่อด้วยด้วยแบบประเมิน โรคซึมเศร้า 9 Q
แบบประเมิน9Q
คะแนน 9Q ≥ 7 ให้ประเมินการฆ่าตัวตาย 8 คำถาม (8Q)
และปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินฆ่าตัวตาย 8 คำถาม (8Q)
ระดับน้อย (8Q = 1-8 คะแนน)
คำแนะนำ
1.1 ประเมินความเจ็บป่วยทางจิตเวช ถ้ามีโรคซึมเศร้าให้ดูแลตามแนวทางที่กำหนดไว้
1.2 ควรปรึกษาหรือส่งต่อผู้ชานาญด้านให้การปรึกษาหรือผู้ทางานด้านสุขภาพจิตเพื่อให้การช่วยเหลือทางสังคมจิตใจ
ระดับสูง (8Q >17 คะแนน)
คำแนะนำ
3.1 ควรรักษาในโรงพยาบาลและเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดตลอด 24 ชั่วโมงหรือพิจารณาส่งต่อโรงพยาบาล จิตเวช
3.2 ให้การช่วยเหลือทางสังคมจิตใจ และช่วยแก้ไขปัญหาทุกข์ใจที่เร่งด่วน
3.3 กรณีที่มีโรคซึมเศร้า ประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q ได้คะแนน >13 ให้ส่งต่อโรงพยาบาลจิตเวชทันที
ระดับปานกลาง (8Q = 9-16 คะแนน)
คำแนะนำ
2.1 ให้การช่วยเหลือทางสังคมจิตใจ ช่วยแก้ไขปัญหาทุกข์ใจที่เร่งด่วน
2.2 ประเมินโรคจิตเวช หากมีโรคซึมเศร้าให้ดูแลรักษาตามแนวทางที่กำหนดไว้
2.3 ควรจัดให้มีผู้ดูแลอย่างใกล้ชิดและแนะนำญาติให้เข้าใจวิธีการช่วยเหลือเฝ้าระวังที่ถูกต้อง
2.4 ควรนัดติดตามเฝ้าระวังเพื่อให้การช่วยเหลือทางสังคมจิตใจอย่างต่อเนื่อง
≥ 19 คะแนน มีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง
คำแนะนำ
คะแนน 9 Q ≥ 13 พิจารณาส่งพบจิตแพทย์เพื่อรับการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม
ประเมินการฆ่าตัวตายด้วยแบบประเมินการฆ่าตัวตาย 8 คาถาม (8Q)
7 - 12 คะแนน มีภาวะซึมเศร้าระดับน้อย
คำแนะนำ
1.ประเมินการฆ่าตัวตายด้วยแบบประเมินการฆ่าตัวตาย 8 คาถาม (8Q)
แจ้งผลการประเมินโรคซึมเศร้าและการฆ่าตัวตาย และให้สุขภาพจิตศึกษา
ประเมินว่า มีปัญหาด้านสังคมจิตใจหรือไม่ ถ้ามีควรให้การปรึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว
แนะนำให้/ส่งต่อเพื่อรับการวินิจฉัยและตรวจรักษาเพิ่มเติมที่โรงพยาบาลชุมชนหรือโรงพยาบาลทั่วไป
<7 คะแนน ไม่มีภาวะซึมเศร้า
ควรประเมินว่า มีปัญหาด้านสังคมจิตใจหรือไม่ ถ้ามีควรให้การปรึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว
แนะนาให้สารวจ/ประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 2Q ด้วยตนเอง
เมื่อพบว่ามีแนวโน้มป่วยเป็นโรคซึมเศร้าให้ไปพบบุคลากรสาธารณสุขเพื่อประเมินโรคซึมเศร้าอีกครัง
13 - 18 คะแนน มีภาวะซึมเศร้าระดับปานกลาง
คำแนะนำ
ประเมินการฆ่าตัวตายด้วยแบบประเมินการฆ่าตัวตาย 8 คำถาม (8Q)
ประเมินว่า มีปัญหาด้านสังคมจิตใจหรือไม่ ถ้ามีควรให้การปรึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว
พิจารณาส่งพบจิตแพทย์เพื่อให้การวินิจฉัยและตรวจเพิ่มเติม
ถ้าคำตอบ ไม่มี ทั้ง 2 คำถาม ถือว่าปกติ ไม่เป็นโรคซึมเศร้า
คำแนะนำ
•แจ้งผลการคัดกรองโรคซึมเศร้าและสุขภาพจิตศึกษาเรื่องโรคซึมเศร้า
•สามารถแจกเอกสารที่มีความรู้เรื่องโรคซึมเศร้าหรือสื่อสุขภาพจิตเรื่องโรคซึมเศร้า เช่น แผ่นผับ หนังสือ ฯลฯ
•แนะนำให้สำรวจ/ประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 2Q ด้วยตนเอง เมื่อพบว่ามีผลแนวโน้มป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ให้ไปพบกับบุคลากรสาธารณสุขเพื่อประเมินโรคซึมเศร้าอีกครั้ง
แบบวัดความซึมเศร้า
ในผู้สูงอายุของไทย (TGDS)
การแปลผล
คำแนะนำ
1.ควรดูแลให้ได้รับอาหารอย่างเพียงพอ ให้กินอาหารอ่อน ย่อยง่าย และต้องไม่มีผลกระทบต่อ โรคประจําตัว
พยายามกระตุ้นให้ผู้สูงอายุทําากิจกรรมต่างๆด้วยตนเอง โดย เฉพาะกิจกรรมง่ายๆ
3.ควรกระตุ้นให้ผู้สูงอายุทําาความสะอาดช่องปาก เช่น ใช้ แปรงสีฟันนุ่มๆ ใช้ยาสีฟันที่ไม่เผ็ดหรือใช้ยาสีฟันเด็ก
ควรกระตุ้นการเคลื่อนไหวของร่างกาย เพื่อให้ร่างกาย แข็งแรง จิตใจจะได้สบายขึ้นแต่ควรคำนึงด้วยผู้สูงอายุมีโรคประจําาตัวอะไรที่ต้องระวังหรือไม่
หากผู้สูงอายุมีปัญหาทางการได้ยิน ควรพบแพทย์เพื่อใส่เครื่องช่วยฟังหรือหากผู้สูงอายุมุ มีปัญหาด้านการมองเห็น ควรให้ตรวจสายตาและใส่แว่นตา
ควรให้ความรักแก่ผู้สูงอายุ ใส่ใจความรู้สึก อารมณ์ และความคิดของผู้สูงอายุอย่างสม่ำเสมอ
ควรกระตุ้นให้ผู้สูงอายุเริ่มพูดคุยกับคนรอบข้าง ทําให้ ผู้สูงอายุรู้สึกผ่อนคลาย สบายใจขึ้น หาเวลาชวนสมาชิก ครอบครัวไปกินข้าวด้วยกัน
• ผู้สูงอายุปกติ คะแนน 0 – 12 คะแนน
• ผู้สูงอายุมีความเศร้าเล็กน้อย (Mild depression) คะแนน 13 – 18 คะแนน
• ผู้มีความเศร้าปานกลาง (Moderate depression) คะแนน 19 – 24 คะแนน
• ผู้มีความเศร้ารุนแรง (Severe depression)
คะแนน25 – 30 คะแนน
Cognitive
Thai Mental state examination :TMSE
คำแนะนำ
ผู้สูงอายุปกติ
Brain Exercise
กิจกรรมเสริมความจำ
Self care
สร้างเสริม และชะลอความเสื่อมของสมอง
ผู้สูงอายุที่มีการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย
Brain Training
ป้องกัน ชะลอการเกิดสมองเสื่อม (โปรแกรมพัฒนาศักยภาพสมอง TEAMV)
เกณฑ์การประเมิน
คะแนนเต็ม 30 คะแนน
ถ้าได้คะแนน >24 คะแนน ถือว่า เป็นผู้สูงอายุปกติ
ถ้าได้คะแนน <24 คะแนน ถือว่า มีภาวะ Cognitive impairment คือมีความผิดปกติทางด้านความสามารถของสมองโดยเฉพาะความจำ
CAM-T
คำแนะนำการพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะสับสน
1.ประเมินอาการและอาการแสดงให้ได้ตั้งแต่ระยะแรกเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยได้ทัน
2.จัดอุปกรณ์ในเรื่องความทรงจำให้ผู้ป่วย เช่น นาฬิกา ปฏิทิน รูปของครอบครัว
3.กำจัดและหรือลดสาเหตุการเกิดภาวะสับสน
4.ดูแลให้มีแว่นตา หรือหูฟังเพื่อให้รับความรู้สึกถูกต้อง
5.ให้การเกื้อหนุนด้านอารมณ์กับครอบครัวและผู้ป่วยอย่างถูกต้องเหมาะสม
6.จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบและแสงสว่างเพียงพอเหมาะสม
อาการ
1.เริ่มต้นมีอาการอย่างเฉียบพลัน(มีหลักฐานการเปลี่ยนไปจากเดิมอย่างเฉียบพลัน)
2.เสียสมาธิ เช่น วอกแวกง่ายหรือมีปัญหาในการติดตามคำพูดต่างๆ
3.ความคิดกระจัดกระจาย เช่น มีการพูดเรื่อยเปื่อย หรือสนทนาที่ไม่เชื่อมโยง ความคิดที่ไม่ชัดเจน ไม่เป็นเหตุผล หรือการเปลี่ยนหัวข้อไปมาโดยไม่รู้เรื่องล่วงหน้า
4.ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนไป โดยรวมแล้วให้ระดับความรู้สึกตัวอย่างไร
เกณฑ์การประเมิน
ต้องมีคุณลักษณะตามข้อ1,2และข้อใดข้อในข้อ3,4
Nutrition
การประเมินภาวะกลืนลำบาก
เกณฑ์การประเมิน
ให้ระบุคะแนน โดยถ้ามี (1 คะแนน)
และไม่มี (0 คะแนน)
แปลผล
หากได้ 4-6 คะแนน
ให้ส่งปรึกษาแพทย์
เพื่อตรวจวินิจฉัยยืนยันผล
คำแนะนำ
จัดชนิดอาหารให้เหมาะสม เช่น
ระดับที่ 1 Thick puree-no liquids
อาหารในระดับนี้ เช่น วุ้น เยลลี่
ระดับที่ 2 Thic and thin puree-thick liquids
เช่น โจ๊กข้นๆ โยเกิร์ต
ระดับที่ 3 Mechanical soft-thick liquids
เช่น ข้าวต้ม เนื้อปลา
ระดับที่ 4 Mechanical soft diet-liquids as tolerated เช่น ก๋วยเตี๋ยว ข้าวต้มเครื่อง
จัดท่าให้ผู้สูงอายุระหว่างการรับประทานอาหาร คือ จัดท่านอนตัวตรง 90 องศา
ช่วยเหลือในระหว่างการรับประทานอาหาร เพื่อให้แน่ใจว่าผู้สูงอายุจะได้รับประทานอาหารและดื่มน้ำได้อย่างปลอดภัย เพื่อคงไว้ซึ่งภาวะโภชนาการที่ดี
คำแนะนำ
ภาวะโภชนาการปกติ
12-14 , 24-30 คะแนน
ให้ความรู้คาแนะนำการดูแลแก่ผู้ป่วย ญาติ และผู้ดูแล เกี่ยวกับ รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลายอย่าง รับประทานพืช ผัก ผลไม้เป็นประจำให้เหมาะสมตามสภาพ แต่ละบุคคล หลีกเลี่ยงรสอาหารท่ีมีรสหวาน จัด รสเค็มจัด ไขมันสูง เลือกรับประทานอาหาร ปราศจากสิ่งปนเปื้อน เลือกซื้ออาหารสดสะอาดและอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ งดหรือลดอาหารท่ีมีเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ปฏิบัติตัวด้านต่างๆเกี่ยวกับการ พักผ่อน การออกกาลังกาย การ ตรวจสุขภาพประจาปี มองโลกในแง่ดี ได้พบปะสังสรรเพื่อน เพื่อให้ร่างกายคงสภาพ แข็งแรงต่อไป
เสี่ยงต่อการขาดสารอาหาร
8-11 , 17-23.5 คะแนน
ให้ความรู้คาแนะนำการดูแลแก่ผู้ป่วย ญาติ และผู้ดูแล เกี่ยวกับ รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลายอย่าง รับประทานพืช ผัก ผลไม้เป็นประจำให้เหมาะสมตามสภาพ แต่ละบุคคล หลีกเลี่ยงรสอาหารท่ีมีรสหวาน จัด รสเค็มจัด ไขมันสูง เลือกรับประทานอาหาร ปราศจากสิ่งปนเปื้อน เลือกซื้ออาหารสดสะอาดและอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ งดหรือลดอาหารท่ีมีเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ปฏิบัติตัวด้านต่างๆเกี่ยวกับการ พักผ่อน การออกกาลังกาย การ ตรวจสุขภาพประจาปี มองโลกในแง่ดี ได้พบปะสังสรรเพื่อน เพื่อให้ร่างกายคงสภาพ แข็งแรงต่อไป
ภาวะขาดสารอาหาร
0-7 , น้อยกว่า 17 คะแนน
ให้ความรู้คำแนะนาการดูแลแก่ผู้ป่วย ญาติ และผู้ดูแล เกี่ยวกับเพิ่มปริมาณอาหารและปรุงอาหารด้วยการผัด ทอด โดยเลือกให้เหมาะสมและไม่ขัดต่อโรคท่ีเป็
เพิ่มมื้ออาหารโดยเพิ่มอาหารว่างหรือเลือกการให้รับประทานอาหารทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง
ดูแลให้ได้รับอาหารที่มีโปรตีนสูง เช่น ไข่ นม ปลา ,ดูแลจัดอาหารที่ผู้ป่วยชอบ และไม่ขัดต่อโรค
ดูแลจัดอาหารที่มีสีสันให้น่ารับประทานตลอดจนภาชนะที่ใส่ ,ดูแลให้รับประทานอาหารเสริม
ระหว่างมื้อตามความเหมาะสม ,ดูแลความสะอาดช่องปาก สุขอนามัย ให้สะอาดอยู่เสมอ
ดูแลพามาพบแพทย์ เพื่อตรวจหา สาเหตุเชิงลึกเกี่ยวกับการรับประทานอาหารและแก้ไข
การประเมินช่องปาก
คำแนะนำ
• ควรเลือกแปรงที่มีด้ามจับถนัดมือ หรือดัดแปลงด้ามจับให้มีขนาดเหมาะสมกับมือผู้สูงอายุ
• พยายามแปรงฟันทุกซี่ ทุกด้าน เพื่อกำจัดคราบอาหารและคราบจุลินทรีย์
• แปรงฟันให้สะอาดด้วยแปรงชนิดขนแปรงนิ่มร่วมกับยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง คือ
เช้าและก่อนนอน
•ใช้แปรงที่มีหัวแปรงขนาดเล็ก แปรงฟันซี่ที่อยู่โดดๆ
• ใช้ผ้าก๊อซพับเป็นแถบขนาดเล็กโอบเช็ดฟันด้านที่ติดกับช่องว่างที่ถอนฟันไปโดยเช็ดให้ชิดกับขอบเหงือก
เกณฑ์การประเมิน
ข้อ 1-3 ถ้าประเมินว่า “มี”หรือ “ใช่ ” ≥1ข้อ ควรส่งต่อ
ถ้าประเมินว่า “ไม่มี” หรือ “ไม่ใช่ ” ควรแนะนาและบริการส่งเสริม ป้องกัน
ข้อ 4 ถ้าประเมินว่า “ไม่สะอาด” ควรฝึกการแปรงฟันและใช้อุปกรณ์เสริมเพื่อควบคุมคราบจุลินทรีย
เกณฑ์การประเมินผล
แบบคัดกรอง Mini Nutritional Assessment (MNA)
เป็นแบบทดลองภาวะโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป
คะแนนการประเมินภาวะโภชนาการ (เต็ม 16 คะแนน)
การแปลผล
24 - 30 คะแนน =
มีภาวะโภชนาการปกติ
น้อยกว่า 17 คะแนน ขาดสารอาหาร
17 - 23.5 = มีความเสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร
คะแนนคัดกรอง (เต็ม 14 คะแนน)
12 - 14 คะแนน = มีภาวะโภชนาการปกติ
-ไม่ต้องตอบแบบประเมินภาวะทุพโภชนาการต่อ
8 - 11 คะแนน = มีความเสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร
-ให้ทำแบบประเมินภาวะโภชนาการส่วนที่ 2 ต่อ
0 - 7 คะแนน =ขาดสารอาหาร
ปริมาณปัสสาวะที่กลั้นไม่อยู่
(3) มาก (เปียกทะลุถึงผ้านุ่งชั้นนอกหรือมากกว่า 2 ซ้อนโต๊ะ)
(1) เล็กน้อย (ไม่กี่หยดหรือไม่เกินครึ่งข้อนโต๊ะ)
2) ปานกลาง (ชุ่มกางเกงในหรือครึ่งถึง 2 ซ้อนโต๊ะ)
สำหรับผู้สูงอายุรายนี้มีความรุนแรงของภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่อยู่ในระดับ
2) รุนแรงปานกลาง
3) รุนแรงน้อย
1) รุนแรงมาก
คะแนนเต็ม 30 คะแนน