Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร?, ต้องแจกแจงแยกแยะงานที่ซับซ้อนออกเป็นทักษะอ…
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร?
1 ความจริง7 ประการ
การเรียนรู้คืออะไร
คือ กระบวนการที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากประสบการณ์ การเรียนรู้ทำให้มีการเพิ่มสมรรถนะ(Performance) และเพิ่มความสามารถของการเรียนรู้ในอนาคต
บรรยายหลัก7ประการที่เกี่วข้องกับการเรียนรู้
1.พื้นความรู้เดิมของนักเรียน มีผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนอย่างไร
2.วิธีที่นักเรียนจัดระเบียบโครงสร้างความรู้ของตน มีผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนอย่างไร
3.มีปัจจัยอะไรบ้าง ที่จูงใจให้นักเรียน
4.นักเรียนพัฒนาการ้รียนรู้รอบด้าน ( Mastery Learning ) ของตนอย่างไร
5.การลงมือทำและการป้อนกลับ (Feedback) แบบไหน ที่ส่งเสริมการเรียนรู้
6.ทำไมการพัฒนานักเรียนและบรรยากาศในชั้นเรียนมีผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน
7.นักเรียนพัฒนาขึ้นเป็นผู้รับผิดชอบการเรียนรู้ของตัวเองได้อย่างไร
2.ความรู้เดิมส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักศึกษาอย่างไร
กรณีที่ความรู้เดิมถูกต้อง แต่ไม่เพียงพอ
หนังสือสรุปว่า ผลงานวิจัยบอกครู4ประการคือ
1.ครูต้องอธิบายการนำความรู้ไปใช้ในต่างบริบทอย่างชัดเจน
2.สอนทฤาฎีหรือหลักการที่เป็นนามธรรม พร้อมกับยกตัวอย่างที่ เป็นรูปธรรม หลากหลายรูปแบบ หลากหลายบริบท
3.เมื่อยกตัวอย่างเปรียบเทียบยกทั้งที่เหมือนและแตกต่าง
4.พยายามกระตุ้นความรู้เดิมเพื่อสร้างความเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่
กรณีความรู้เดิมไม่ถูกต้อง
2.กระตุ้นความรู้เดิมที่ถูกต้องของนักศึกษา
3.ตรวจสอบความรู้เดิมที่ยังบกพร่อง
4.ช่วยนักศึกษาหีกเลี่ยงการประยุกต์ความรู้เดิมผิดๆคือไม่เหมาะสมต่อบริบท
1.ประเมินความรู้เดิมของนักศึกษา ตรวจหาความรู้เดิมที่ผิดพลาดในส่วนที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาที่นักศึกษากำลังเรียน
5.ช่วยให้นักศึกษาแก้ไขความรู้ผิดๆของตน
วิธีตรวจสอบความรู้เดิมของนักศึกษาทั้งด้านความเพียงพอ และด้านความถูกต้อง ทำได้ดังนี้
คุยกับเพื่อนครู
จัดการทดสอบเพื่อประเมิน
ให้นักศึกษาประเมินตนเอง
ใช้การระดมสมอง
ให้ทำกิจกรรม Concept Map (ผังเชื่อมโยงหรือแผนผังความสัมพันธ์)
สังเกตรูปแบบ(Pattern) ของความเข้าใจผิดของนักศึกษา
3.วิธีจัดการความรู้เดิม
วิธีทำความเข้าใจความรู้เดิมที่ไม่เพียงพอ
ระบุความรู้เดิมที่ครูคาดหวังว่านักศึกษาต้องมี
จัดการเรียนรู้เสริม
วิธีช่วยให้นักศึกษาตระหนักว่าความรู้เดิมของตนไม่เหมาะสม
ยกประเด็นเรื่องการนำความรู้มาใช้งาน
มีตัวช่วยให้นักศึกษาหลักเลี่ยงการใช้งานผิดๆ
ระบุวิธีการที่จำเพาะต่อสาขาวิชานั้นๆอย่างชัดเจน
ชี้ให้เห็นว่าการเปรียบเทียบบางกรณีใช้ไม่ได้
วิธีแก้ความรู้ผิดๆ
ให้นักศึกษาทำนายแล้วทดสอบ
ให้นักศึกษาอธิบายเหตุผลของตน
ให้โอกาสนักศึกษาใช้ความรู้ที่แม่นยำหลายๆครั้ง
ให้เวลา
4.การจัดระเบียบความรู้
วิธีการจัดระเบียบความรู้ มีผลต่อการเรียนรู้
โครงสร้างรับใช้หน้าที่
การจัดระบบความรู้ของผู้เชี่ยวชาญ ต่างจากของผู้เริ่มต้น: ความหนาแน่นของการเชื่อมต่อของเซลล์สมอง
การจัดระบบความรู้ของผู้เชี่ยวชาญ ต่างจากผู้เริ่มต้น: ธรรมชาติของการเชื่อมต่อ
5.ครูช่วยลูกศิษย์จัดระเบียบโครงสร้างความรู้ให้ถูกต้องและมั่นคง
สร้าง Concept Map เพื่อวิเคราห์การจัดระเบียบความรู้ของครู
วิเคราะห์ภารกิจ เพื่อการจัดระเบียบความรู้ที่เหมาะสมที่สุด
บอกโครงสร้างการจัดระเบียบรายวิชาแก่นักศึกษา
การอธิบายด้วยถ้อยคำ
ระบุการจัดระเบียบโครงสร้างของแต่ละการบรรยาย, Lap หรือการอภิปราย
ใช้ตัวอย่างที่แตกต่างกันอย่างสุดขั้ว เพื่อบอกลักษระของการจัดระเบียบความรู้ของตนเอง
แสดงลักษณะเชิงลึกอย่างชัดเจน
ทำให้ความเชื่อมโยงระหว่าง Concept มีความชัดเจน
ส่งเสริมให้นักศึกษาฝึกพัฒนาหลายโครงสร้างของการจัดระเบียบความรู้
ให้นักศึกษาเขียน Concept Map เพื่อทำความเข้าใจการจัดระเบียบความรู้ของตนเอง
ใช้ Sorting Task เพื่อให้นักศึกษาทำความเข้าใจการจัดระเบียบความรู้ของตนเอง
ติดตามตรวจสอบการทำงานของนักศึกษาเพื่อทราบข้อบกพร่องในการจัดระเบียบความรู้
6.สิ่งที่จูงใจนักเรียนให้อยากเรียน
เป้าหมาย
คำพูดว่าใครสักคนมีแรงจูงใจ ไม่มีความหมาย หากไม่ใช่แรงจูงใจสู่การลงมือทำ ทำเพื่อบรรลุผลตามความมุ่งหมายหรือความคาดหวังเป้าหมายเป็นเสมือนเข็มทิศ หรือภาษาไทยมักใช้คำว่า "ปักธง"
การให้คุณค่า
เมื่อนักศึกษามีหลายเป้าหมายในเวลาเดียวกัน มีเรื่องที่จะต้องทำให้เลือกหลายตัวเลือกในเวลาเดียวกัน นักศึกษาย่อมเลือกทำสิ่งที่ตนคิดว่ามีคุณค่าสูงสุดต่อตนเอง
ความเชื่อมั่นว่าบรรลุได้
7.ยุธศาสตร์สร้างแรงจูงใจ
ทำให้วัตถุประส่งค์การประเมิน และกระบวนการเรียนรู้สอดคล้องไปในทางเดียวกัน
มอบหมายงานมีระดับความท้าทายเหมาะสม
จัดให้มีความสำเร็จในเบื้องต้น
ระบุความคาดหมายของครูอย่างชัดเจน
แจ้ง Rubrics การประเมิน
ให้การป้อนกลับอย่างมีเป้าหมาย
ยุติธรรม
8.นักเรียนพัฒนาการเรียนให้รู้จริง (Mastery Learning) ได้อย่างไร
องค์ประกอบการเรียนรู้ระดับจริง
1.เรียนรู้ทักษะองค์ประกอบย่อยของเรื่องนั้น
2.เรียนรู็วิธีบูรณาการทักษะองค์ประกอบย่อยเข้าด้วยกัน
3.เรียนรู้การบูรณาการให้ได้รูปแบบที่เหมาะสมต่อกาลเทศะ
ทักษะความเชี่ยวชาญ(Expertise)
ครูที่ดีต้องเอาชนะจุดบอดของผู้เชี่ยวชาญ และศึกษาทำความเข้าใจขั้นตอนการเรียนรู้ 3ขั้นตอนแรกข้างบน
ทักษะองค์ประกอบย่อย
นักศึกษาต้องมีองค์ประกอบย่อยอย่างครบถ้วนจึงสามารถทำงานหรือกิจกรรมที่ซับซ้อนและต้องการทักษะเหล่านั้นครูจึงมีทั้งศาสตร์ในการวิเคราะห์ชิ้นงานว่าต้องการทั้งสายย่อยอะไรบ้าง
การประยุกต์ใช้ทักษะและความรู้
9.เทคนิคช่วยศิษย์ให้รู้จริง
ยุทธศาสตร์ทำทักษะองค์ประกอบให้แจ่มแจ้ง
บูรณาการทักษะองค์ประกอบจนคล่องแคล่วทำให้เป็นอัตโนมัติโดยไม่ต้องใช้ความพยายาม
ยุธศาสตร์สร้างความช่ำชองและฝึกบูรณาการ
ฝึกเพื่อความคล่องแคล่ว
ยุธศาสตร์เอื้อให้เกิดการประยุกต์
อภิปรายเงื่อนไขของการประยุกต์ใช้
10.การทำหน้าที่ครูฝึก
การฝึกปฏิบัติมีทั้งวิธที่ดีและวิธีที่เลว
ขยันฝึกแต่ไม่ได้อะไร
การฝึกปฏิบัติที่ถูกต้อง
ระดับความท้าทายพอเหมาะ
เทคนิคการฝึกปฏิบัติ
ประเมินความรู้
จงระบุเป้าหมายของรายวิชาให้แจ่มชัด
กำหนดความคาดหวังต่อการฝึก
ยกตัวอย่างสมรรถนะที่เป็นเป้าหมาย
ใช้รูบิกของการประเมินเพื่อสื่อสารตามเกณฑ์
ใช้เทคนิค Scaffolding ในการมอบหมายงาน
11.คำแนะนำป้อนกลับ (Feedback)
เทคนิคการให้คำแนะนำป้อนกลับ
มองหาแบบแผนที่นักศึกษาทำผิดซ้ำๆ
ให้คำแนะนำป้อนกลับในระดับกลุ่ม
ให้คำแนะนำป้อนกลับทันทีในแก่กลุ่ม
จัดให้มีคำแนะนำป้อนกลับจากเพื่อน
การสื่อสารคืบหน้าและคำแนะนำให้พยายามต่อไป
กำหนดเวลาให้คำแนะนำป้อนกลับอย่างเหมาะสม
จัดลำดับความสำคัญของคำแนะนำป้อนกลับ
ออกแบบให้มีโอกาสให้คำแนะนำป้อนกลับบ่อยๆ
ให้คำแนะนำป้อนกลับในระดับกลุ่ม
12.พัฒนาการของนักศึกษาและบรรยากาศในชั้นเรียน:ทฤษฎี
ทฤษฎีพัฒนาการของนักศึกษาแนว Chickering
การพัฒนาสมรรถนะ
การจัดการอารมณ์ คือรู้เท่าทันอารมณ์ของตนเอง
พัฒนาความเป็นตัวของตัวเอง ทักษะการแยกตัวออกมาจากพ่อแม่ เข้ามาในกลุ่มเพื่อน
สร้างอัตลักษณ์
พัฒนาความเป็นอิสระจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
พัฒนาจุุดมุ่งหมายในชีวิต
พัฒนาความมั่นคงในคุณธรรม
13.พัฒนาการของนักศึกษและบรรยากาศในชั้นเรียน : ภาคปฏิบัติ
พยายามไม่ให้มีคำตอบถูกเพียงคำตอบเดียว
ตรวจสอบสมมติฐานของตัวครูเอง ต่อนักศึกษา
ลดการปกปิดตัวตน
ใช้ตัวอย่างที่แตกต่างหลากหลาย
สร้างบรรยากาศที่ดีของรายวิชาในวันแรก
ระมัดระวังเรื่องที่อ่อนไหว ล่อแหลม
14.ผู้กำกับการเรียนรู้ของตนเอง : ทฤษฎี
คุณสมบัติของผู้ที่สามารถกำกับการเรียนรู้ของตนเองได้
มีทักษะในการวางแผนทำงาน
มีทักษะในการประเมินความรู้
มีทักษะในการประเมินตัวงานที่ต้องทำ
มีทักษะในการติดตามประเมินความก้าวหน้าของตน
มีทักษะในการปรับปรุงยุทธศาสตร์การทำงานของตน
ไตร่ตรองสะท้อนความคิดและปรับปรุงวิธีการทำงาน
วางแผนวิธีทำงานได้เหมาะสม
15.ผู้กำกับการเรียนรู้ของตนเอง: ภาคปฏิบัติ
ประเมินงานที่จะทำ
สร้างความชัดเจนให้มากกว่าที่คิด
บอกนักศึกษาว่าครูไม่ต้องการอะไร
ประเมินจุดแข็งและจุดอ่อนของตนเอง
ให้ประเมินตนเอง
วางแผนวิธีทำงานที่ดี
ลงมือปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ และติดตามผล
16.ประยุกต์หลัก 7ประการ ต่อการเรียนรู้ของตนเอง (จบ)
ครูเพื่อศิษย์พึงตระหนังในเป้าหมายพัฒนาการทั้ง5ด้านนี้อยู่ตลอดเวลา และหาทางทำให้ฝึกปฏิบัติในกิจกรรมทุกกิจกรรม นำไปสู่พัฒนาการหลายด้านในเวลาเดียวกัน
ต้องแจกแจงแยกแยะงานที่ซับซ้อนออกเป็นทักษะอย่างเป็นระบบ
เรียนรู้กาละเทศะในการประยุกต์ใช้ทักษะเหล่านั้น
ใช้การเปรียบเทียบเพื่อให้เข้าใจลึก
กำหนดสถานการณ์ใช้ความรู้หรือทักษะ
ตีความยกระดับความเข้าใจสู้หลักการ
ฝึกประยุกต์ในหลากหลายบริบท
กำหนดความรู้และทักษะเพื่อที่จะนำไปใช้ในสถานการณ์
นางสาวพิมผกา สาตื้อ ภาษาไทยหมู่2 651790006038-2