Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Dehydration, นาย ศุภโชค อินธรรม ห้อง 2 เลขที่ 74 - Coggle Diagram
Dehydration
การพยาบาล
-
-
-
ประเมินและบันทึก ลักษณะสี จำนวนของสารเหลวที่ออกจากท่อระบายต่างๆ เช่น NGtute, crest tube, urethal catheter เป็นต้น
ประเมินความสมดุลของสารน้ำและอิเล็คโทรลัยท์ เช่น สังเกตอาการริมฝีปากแห้ง ความตึงตัวของผิวหนัง ตาลึกโหล กระหม่อมบุ๋ม capillary refill time มากกว่า 2 วินาที
ติดตาม No + K., HCO3- หากผิดปกติและมีอาการแสดงให้รายงานแพทย์
ในรายที่ฟังหน้าท้อง ไม่มีเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้ ทำให้มีอาการท้องอืด จึงต้องรายงานแพทย์เพื่อพิจารณาใส่ NG tube หลังจากนั้นติดตามและบันทึกลักษณะ จำนวนของสาร เหลวที่ค้างอยู่ในกระเพาะอาหาร และติดตามฟังเสียงการเคลื่อนไหวของลำได้เป็นระยะ ร่วมกับ อาการท้องอืด ถ่ายอุจจาระ ผายลม ร่วมด้วย
การวินิฉัย
อาจมีการตรวจเพื่อการสืบค้นอื่นๆเพิ่มเติมขึ้นกับ อาการผู้ป่วย และดุลพินิจของแพทย์ เช่น
-ตรวจเลือดดูน้ำตาลในเลือดเพื่อวินิจฉัยโรคเบาหวาน
-ตรวจเลือดซีบีซี (CBC) ดูการติดเชื้อแบคทีเรีย
-ตรวจเลือดดูการทำงานของ ไต ตับ
การตรวจร่างกาย และ การตรวจสัญญาณชีพ (ชีพจร, อัตราการหายใจ, ความดันโลหิต, และอุณหภูมิของร่างกาย)
-
-
การรักษา
สามารถทำได้ด้วยการเพิ่มหรือชดเชยปริมาณของเหลวในร่างกาย โดยการดื่มน้ำที่มีส่วนผสมของเกลือแร่ หรือดื่มควบคู่กับน้ำเปล่า แพทย์อาจให้น้ำเกลือทางหลอดเลือดดำในกรณีที่ผู้ป่วยมีภาวะขาดน้ำจากอาการอาเจียนและท้องเสียที่ไม่สามารถดื่มน้ำผสมเกลือแร่ได้ และควรหลีกเลี่ยงการดื่มน้ำอัดลม น้ำหวาน หรือเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของคาเฟอีน เพราะอาจทำให้อาการแย่ลง
โดยการแก้ไขภาวะขาดน้ําและเกลือแร่การแก้ไขภาวะกรดจากเมตาบอลิซึม การให้ยาฆ่าเชื้อ และ การรักษาตามอาการ เช่น การอาเจียน ท้องอืด การระคายเคืองผิวหนังรอบๆ ทวารหนัก
-
อ้างอิง
ภัทริน สร้ํางแก้ว. การพัฒนําแนวทํางการจัดการปัญหําภาวะขาดน้ำจากอุจจําระร่วงเฉียบพลันในเด็กอํายุ 1-5 ปี ที่มํารับบริการสุขภาพระดับปฐมภูมินําพญํา สํารนิพนธ์ พยําบําลศําสตรมหําบัณฑิต สําขําเวชปฏิบัติชุมชน มหําวิทยําลัยวลัยลักษณ์; 2552
เพ็ญนภํา พงษ์ศรี. ผลการใช้โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพต่อพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของมํารดาที่มีบุตรป่วยด้วยโรคอุจจําระร่วงในโรงพยาบาลสวรรค์ประชํารักษ์ วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหําบัณฑิต สําขํากํารส่งเสริม สุขภาพ มหาวิทยําลัยนครสวรรค์; 2552.
ความหมาย
ถึงภาวะที่ร่างกายของเด็กได้รับน้ำไม่เพียงพอ หรือสูญเสียน้ำภายในร่างกายมากเกินไป ซึ่งสามารถสังเกตได้จากอาการปากแห้ง เหงื่อออกน้อย มือเย็น ปัสสาวะน้อย อ่อนเพลีย หากอยู่ในพื้นที่ที่มีอากาศร้อน ต้องทำกิจกรรมกลางแจ้งนาน ๆ หรือหากลูกมีอาการท้องเสีย เป็นไข้ อาเจียน ควรคอยสังเกตอาการของภาวะขาดน้ำและทำการรักษาอย่างรวดเร็วเพื่อป้องกันอันตรายต่อตัวเด็ก
สาเหตุ
มีอาการ อาเจียน ท้องเสีย การออกกำลังกาย หรือการใช้ยาบางชนิด สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกวัย แต่มักเกิดขึ้นได้มากกับทารก เด็กเล็ก และผู้สูงอายุ หากร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไปจะทำให้เซลล์ เนื้อเยื่อ และอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ตามมาซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อชีวิต
อาการ
การกระหายน้ำ เป็นสัญญาณหรืออาการแรก ๆ ที่ร่างกายแสดงออกเพื่อพยายามเพิ่มปริมาณน้ำในร่างกาย ทารกและเด็กเล็ก เป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะขาดน้ำได้มากที่สุด
-
-
-