Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คุณธรรมและจริยธรรมของวิชาชีพครู - Coggle Diagram
คุณธรรมและจริยธรรมของวิชาชีพครู
คุณธรรมของวิาชีพครูที่จำเป้นสำหรับสังคมไทย
คุณธรรมวิชาชีพครูที่จำเป็นสำหรับสังคมไทย
คุณธรรมพืนฐาน 8 ประการของครู
มีน้ำใจ คือความจริงใจที่ไม่เห็นแก่เพียงตัวเองหรือเรื่องของตัวเอง
ประหยัด คือ การรู้จักเก็บออม
สะอาด คือ ปราศจากความมัวหมองทั้งกาย ใจ
สามัคคี คือความพร้อมเพียงกัน
ขยัน=ความตั้งใจเพียรพยายาม
สุภาพ คือเรียบร้อย อ่อนโยน ละมุนละม่อม
มีวินัย คือการยึดมั่นในระเบียบแบบแผนข้อบังคับและข้อปฏิบัติ
ซื่อสัตย์ คือ ประพฤติตรงไม่เอนเอียงไม่มีเล่ห์เหลี่่ยม
คุณธรรมของวิชาชีพครูตามหลักพุทธธรรม
คุณธรรม 4 ประการของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
คุณธรรมประการที 3
การอดทน อดกลัน
และอดออม ไม่ประพฤติล่วงลา
ความทุจริตไม่ว่าด้วย เหตุผลประการใด
คุณธรรมประการที 1
การรักษาความสัจ ความจริงใจต่อตัวเอง ที ประพฤติปฏิบัติ แต่สิ งที เปนประโยชน์ และเปนคุณธรรม
คุณธรรมประการที 4
การรู้จักละความชัว
ความทุจริต และรู้จัก สละประโยชน์ส่วนน้อย
ของตนเพือประโยชน์ ส่วนใหญ่ของบ้านเมือง
คุณธรรมประการที 2
การรู้จักข่มใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติ อยู่ในความสัจความดี และรู้จักฝกจิตใจตนเอง ให้ประพฤติด
คุณธรรมของครูเพือเพิมประสิทธิภาพ
ในการทํางาน
อิทธิบาท 4
ฉันทะ=ความยินดี พอใจในวิชาชีพครู
วิริยะ=ความเพียรพยายามในการประกอบวิชาชีพครู
จิตตะ=การเอาใจฝักใฝ่ในความเปนครู
วิมังสา=การหมั่นตริตรองคิดพิจารณาด้วยหลักเหตุและผลในการทำหน้าที่ครู
คุณธรรมสําหรับครูเพือความสุข
ความเจริญของตนและส่วนรวม
มรรค มีองค์ 8 มรรค
สัมมาทิฏฐิ
การเห็นชอบ หมายถึง ความเห็น หรือ การเข้าใจในสิ่งที่ถูกต้องและดีงาม
สัมมาสังกัปปะ
การดำริชอบ การคิดชอบ
สัมมาวาจา
การเจรจาชอบ หมายถึง การพูดจาชอบในทางที่ถูกที่งาม
สัมมากัมมันตะ
การประพฤติชอบ หมายถึง การประพฤติปฏิบัติในทางที่ถูกตองอันควร
สัมมาอาชีวะ
การเลี้ยงชีพชอบ หมายถึง การประกอบอาชีพหรือการหาเลี้ยงชีพด้วยความสุจริต
ด้วยการใช้ปัญญา
สัมมาวายามะ
การเพียรชอบ หมายถึง ความเพียรในการงานหรือความเพียรในการประพฤติต่อ
คุณงามความดี
สัมมาสติ
การตั้งสติชอบ หมายถึง การตั้งสติได้ การระลึกได้
สัมมาสมาธิ
การตั้งมั่นชอบ หมายถึง การตั้งมั่นในจิต
พรหมวิหาร 4
เมตตา คือ ความคิดปรารถนาดี
กรุณา คือ ความสงสารและช่วยให้ผู้อื่นพ้นจากความทุกข์ความเดือดร้อน
มุทิตา คือ ความยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดีหรือมีความสุขก็มีใจแช่มชื่นเบิกบานไปด้วย
อุเบกขา คือ ความวางเฉย วางใจเป็นกลางไม่เอนเอียงไปเพราะความชอบความชัง
สังควัตถุ 4
ทาน คือ การให้ปัน
ปิยวาจา คือ การพูดจาไพเราะ
อัตถจริยา คือ การบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น
สมานัตตตา คือ การปฏิบัติตน
คุณธรรมของวิชาชีพครู
คุณธรรมของวิชาชีพครูตามพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที 9
ทาน
ศีล
จาคะ หรือการเสียสละ
อาชชวะ
มัททวะ
ตบะ
อักโกธะ
อวิหิงสา
ขันติหรือความอดทน
อวิโรธนะ
คุณธรรม
สภาวะภายในจิตใจของมนุษย์ที่สร้างความรู้สึกผิดชอบชั่วดีในทางศีลธรรมที่จะควบคุมพฤติกรรมที่แสดงออกมาอยู่ในกรอบอันดีงาม
จริยธรรม
ข้อประพฤติปฏิบัติ หรือหลักในการดำเนินชีวิตอย่างประเสริฐ
การปลูกฝังคุณธรรมในวิชาชีพครู
การปลูกฝังโดยใช้กิจกรรมการฝึกอบรม
การปลูกฝังโดยใช้คำประพันธ์
การปลูกฝังโดยการประกาศเกียรติคุณให้รางวัล
รางวัลครูแห่งชาติ
รางวัลครูสอนภาษาไทยดีเด่น
การประกาศเกียรติคุณผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษารับเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ “คุรุสดุดี”
โครงการครูสอนดี
การพัฒนาจิตสำนึกและคุณธรรมจริยธรรมครู
การพัฒนาคุณธรรม/จริยธรรมของครูโดยสถาบันผลิตครู
การพัฒนาคุณธรรม/จริยธรรมของครูโดยหน่วยงานที่ใช้ครู
การพัฒนาคุณธรรม / จริยธรรมของครูโดยองคกรวิชาชีพครู
การพัฒนาคุณธรรม / จริยธรรมของครูโดยสถาบันทางสังคมอื่นๆ
การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของครูด้วยตนเอง