Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนากลุ่มและเครือข่ายในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
การพัฒนากลุ่มและเครือข่ายในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์ประกอบและประเภทของเครือข่ายในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์ประกอบของเครือข่ายทั่วไป
จุดมุ่งหมาย
หน่วยชีวิตหรือสมาชิก
การทำหน้าที่อย่างมีจิตสำนึก
การมีส่วนร่วมและการแลกเปลี่ยน
ระบบความสัมพันธ์และการสื่อสาร
องค์กประกอบของเครือข่ายในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หน่วยหรือสมาชิกของเครือข่าย
มีความเท่าเทียมของฝ่ายต่างๆ
การมีส่วนร่วมในกิจกรรมและการแลกเปลี่ยนความรู้
การมีปฎิสัมพันธ์และการสื่อสารร่วมกัน
การทำหน้าที่ต่อกันของสมาชิกอย่างมีจิตสำนึกเมื่อแต่ละหน่วยมารวมกัน
การะบวนการเสริมสร้างซึ่งกันและกัน
มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน
การแบ่งปันผลประโยชน์ที่เกิดจากการทำงานร่วมกัน
ประเภทและรูปแบบของเครือข่าย
การจำแนกเครือข่ายตามการเชื่อมโยง
การจำแนกเครือข่ายตามการก่อเกิด
การจำแนกเครือข่ายตามขอบเขตของชุมชน
ความหมายและความสำคัญของเครือข่ายในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย
การประสานงานหรือทำงานกัน มีการทำงานแบบเชื่อมโยงกันเป็นเครื่อข่าย ช่วยเหลือ พัฒนา และให้ความรู้
ความสำคัญ
ก่อเกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
เป็นกลยุทธ์ที่เสริมสร้างจุดแข็งขององค์กร
เป็นเวทีสำหรับการปฏิบัติงานร่วมกัน
เกิดการพึ่งพาตัวเองในกลุ่มสมาชิดเครือข่าย
เป็นแหล่งรวบรวมและเผยแพร่ข่าวสารไปมาระหว่างข้อมูลต่างๆ
เกิดความสามัคคี
เกิดการจัดการทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
ลักษณะการเชื่อมโยงเครือข่าย
เป้าหมาย
ความสัมพันธ์
อิสระต่อกัน
แนวระนาบ แนวนอน
เงื่นไขการเป็นเครือข่าย
ทฤษฎีแลกเปลี่ยน
แนวคิดการรวมพลัง
แนวคิดเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร
พัฒนาการของเครือข่ายในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
พัฒนาการของเครือข่าย
ขั้นตระหนะและการก่อตัวเครือข่าย
ขั้นการสร้างพันธกรณีเครือข่าย
ขั้นพัฒนาความสัมพันธ์เครือข่าย
ขั้นการรักษาความสัมพันธ์เครือข่าย
พัฒนาการของเครือข่ายในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ระยะเตรียมการ/ก่อเกิด
ระยะการดำเนินกิจกรรม
ระยะก่อตั้ง
ระยะเครือข่าย
รูปแบบพัฒนาการเครือข่าย
การพัฒนาเครือข่ายจากกลุ่มกิจกรรมย่อยหลายกลุ่มเชื่อโยงกันเป็นกลุ่มใหญ่
การพัฒนาเครือข่ายจากกลุ่มใหญ่แยกเป็นกิจกรรมย่อยและเชื่อมโยงกัน
การพัฒนาเครือข่ายแบบผสม
แนวคิดเกียวกับกลุ่มในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์ประกอบและประเภทของกลุ่มในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์ประกอบของกลุ่มในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สมาชิก
ผู้นำและกรรมการกลุ่ม
เป้าหมายหรือความสนใจร่วมกัน
การทำกิจกรรมกลุ่ม
ทุนกลุ่ม
กฏระเบียบและแนวปฏิบัติกล่ม
ประเภทของกลุ่มในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การจำแนกตามแนวคิดด้านการจัดองค์กร
การจำแนกตามโครงสร้างของกลุ่ม
การจำแนกตามลักษณะกิจกรรม
จำแนกตามการพัฒนาของกลุ่ม
จำแนกตามวัตถุประสงค์และการดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม
ความหมายและความสำคัญของกลุ่มในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย
การที่คนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมารวมกัน เพื่อสร้างสรรค์และพัฒนาในสิ่งที่เป็นประโยชน์ทั้งต่อตัวเองและต่อชุมชน
ความสำคัญ
เพื่อเปิดมุมมองใหม่ๆของสมาชิกที่มารวมกลุ่ม
เกิดพลังอำนาจในการคิดริเรื่มและต่อรอง
ช่วยรวบรวมและประสานความสามารถ
สร้างการตัดสินมตร่วม
พัฒนาการและการบริหารกลุ่มในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
พัฒนาการของกลุ่มในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมกลุ่ม
ขั้นตอนที่ 2 กลุ่มศึกษาเรียนรู้
ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนกลุ่มกิจกรรม
การบริหารกลุ่มในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวางแผนกลุ่ม
การนำ
โครงสร้างองค์กร
การประสานงาน
การติดตามและประเมินผล
การขยายเครือข่าย
การบริหารเงิน
การจัดคนทำงานในกลุ่ม
การทำงาานกับกลุ่มและเครือข่ายในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การทำงานกับกลุ่มในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หลักสำคัญของการทำงานกับกลุ่ม
การรักษาพันธกรณี ความสัมพันธ์และการสื่อสารที่เป็นระบบ
การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
การทำงานที่เริ่มจากจุดเล็กและขยายไปสู่หน่วยใหญ่
การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิก
การสร้างผลของกิจกรรมที่เกิดขึ้นให้เป้นรูปธรรม
การมีชุมทางสื่อสารที่หลากหลาย
การมีพันธสัญญาที่หนักแน่นระหว่างกัน
การพัฒนาความเข็มแข็งของผู้นำ
เป้าหมายทิศทางกลุ่มต้องชัดเจน
วิธรการทำงานกับกลุ่ม
การทำงานในระยะเตรียมกลุ่ม
การทำงานในระยะเข้มแข็ง/ขยายตัว
การทำงานในระยะก่อตั้ง
การทำงานในระยะกิจกรรม/ปรับตัวดำรงอยู่
การทำงานกับเครือข่ายในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หลักการทำงานเป็นเครือข่ายในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ส่งเสริมการสร้างวัฒนกรรมเครือข่าย
การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
การทำงานที่เริ่มจากจุดเล็กและขยายไปสู่หน่วยใหญ่
กำหมดเป้าหมายทิศทางให้ชัดเจน
การสร้างเครือข่ายที่มีเป้าหมายร่วมกัน
การมีพันธสัญญาที่หนักแน่นระหว่างกัน
ต้องพัฒนากลุ่มลูกข่ายให้มีความเข้มแข็ง
การสร้างผลของกิจกรรมออกมาเป็นรูปธรรม
การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิกเครือข่าย
แสวงหากลุ่มแกนนำที่มีจิตสำนึก
คำนึงถึงกิจกรรมที่กลุ่มหรือหน่วยย่อยทำ
การมีกลไกการสื่อสารระหว่างสมาชิกและภาคี
วิธีการทำงานเป็นเครือข่าย
ระยะก่อตั้ง
ระยะก่อตั้งเป็นเครือข่าย
ระยะดำเนินกิจกรรม
ระยะขยายเครือข่าย