Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดทางการจัดการนักวิชาการ :star:, นายณรากร เหล็กโชติ รหัสนิสิต…
แนวคิดทางการจัดการนักวิชาการ :star:
แนวคิดการจัดการ
เชิงวิทยาศาสตร์(Scientific Management Approach)
เฟรดเดอริก วินสโลว์เทย์เลอร์(Frederick Winslow Taylor)
หลักการจัดการ 4 ประการ
พัฒนา “ศาสตร์” ของงานแต่ละงานประด้วย วิธีการเคลื่อนไหว มาตรฐานของการปฏิบัติงาน และสภาพการทำงานที่เหมาะสม "วิธีที่ดีที่สุด (one best way)"สำหรับการทำงานนั้น
คัดเลือกพนักงานที่มีความสามารถเหมาะสมกับงาน
ฝึกอบรมพนักงานใหเ้ข้าใจวิธีการทำงาน มีการจูงใจที่เหมาะสม โดยจ่าย ค่าตอบแทนตามสัดส่วนของงานทำแทนที่การจ่ายตามชั่วโมงงาน
สนับสนุนพนักงานด้วยการทำงานอย่างเหมาะสม และคอยช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ ในขณะทำงาน
แฟรงค์ และ ลิเลียน กิลเบอร์ต
(Frank and Lilian Gilberth)
1.เทคนิคการทำงานให้ง่าย (job simplification)
2.การกำหนดมาตรฐานงาน (work standards)
3.การจ่ายค่าจ้างจูงใจ (incentive wage plans)
เฮนรี่ แกนท์(Henrry Gantt)
1.กำหนดแผนภูมิการทำงาน
2.ผังแกนท์ (Gantt Chart)
3.แผนภูมิที่ระบุรายละเอียดการทำงาน และกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จอย่างชัดเจน
แนวคิดทางการจัดการ
เชิงบริหาร (Administrative Management Approach
อองรี ฟาโยล์(Henry Fayol)
มุ่งเน้นที่การจัดการองค์การในภาพรวมเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ โดยมองว่าผู้จัดการและผู้บริหารมีความรับผิดชอบในการประสานกิจกรรม ต่างๆ ของกลุ่ม และส่วนงานต่างๆ ในองค์การ
การวางแผน (Planning)
การจัดองค์กร (Organizing)
การบังคับบัญชา (Commanding)
การประสานงาน (Coordinating)
การควบคุม (Controlling)
แมรี่ ปาร์กเกอร์ ฟอลเลท (Mary Parker Follett)
“เรื่องกลุ่มในองคก์ร” และ “ความร่วมมือในองค์การ”
:<3:ทัศนะ –องค์การเป็นเสมือนชุมชนที่มีผู้จัดการและผู้ปฏิบัติงานร่วมกัน :<3:เสนอ การมีส่วนร่วมของพนักงาน
:<3:ทัศนะ – “อำนาจหน้าที่ควรไปด้วยกันกับความรู้”
:<3:ให้ความสำคัญการทำงานร่วมกันระหว่างแผนกงาน (cross functioning)
แมกซ์เว็บเบอร์ (Max Weber)
1.มุ่งเสนอทางเลือกให้ผู้บริหาร เพื่อผลักดันให้ธุรกิจที่ก าลังเติบโตเติบโตอย่างมั่นคง
ด้วยหลักการของระบบบูโรเครซี (Bureaucracy)
2.องค์กรแบบบูโรเครติกเป็นองค์การขนาดใหญ่ที่มีการบริหารงานอย่างมีเหตุมีผล
ถูกต้องตรงไปตรงมา และโปรงใสในทุกๆ เรื่อง
มีคุณลักษณะขององค์กร 5 ประการ
การแบ่งงานชัดเจน ( Clear division of labor)
การมีกฎระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานชัดเจน( Formal rule)
ปราศจากการเลือกปฏิบัติ ( Impersonality)
การกำหนดลำดับชั้นของอำนาจหน้าที่ัชัดเจน ( Well-define hierarchy)
ความก้าวหน้าเป็นไปตามระบบคุณธรรม (Career base on merit)
แนวคิดการจัดการเชิง
พฤติกรรม (Behavioral Management Approach)
จอร์จ อี. เมโย (George E. Mayo)
เน้นไปที่ด้านมนุษยศาสตร์และความเข้าใจเกี่ยวกับผู้คนในองค์กร เป็นที่รู้จักด้วย "
การศึกษาฮาวธอร์น
" (Hawthorne Studies) ที่เป็นการวิจัยที่ทำในช่วงปี 1920 ที่โรงงาน Western Electric Company ที่ช่วงแรกเริ่มจากการศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของแสงไฟต่อผลิตภัณฑ์และผลการทำงานของลูกจ้าง แต่ทีมวิจัยพบว่าไม่ว่าจะเปลี่ยนแสงไฟเป็นแบบไหนก็ไม่มีผลต่อผลการทำงาน แต่พวกเขาพบว่ามีปัจจัยอื่นๆ ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการทำงานของลูกจ้าง
อับบราฮัม มาสโลว์(Abraham Maslow)
:red_flag:การพัฒนาทฤษฎีแรงจูงใจมีสมมติฐาน 3 ประการเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์
มนุษย์มีความต้องการที่ไม่สิ้นสุด
พฤติกรรมของมนุษย์ ณ เวลาใดเวลาหนึ่งเป็นไปเพื่อที่จะให้ได้รับในสิ่งที่ต้องการ ซึ่งยังไม่ได้รับการตอบสนอง
ความต้องการของมนุษย์เกิดขึ้นอย่างเป็นล าดับขั้น เมื่อได้รับการตอบสนองแล้ว ความต้องการของมนุษย์ก็จะเลื่อนขึ้นไปอีกเป็นขั้นๆ
ดักลาส แมคเกรเกอร์(Douglas McGregor)
"ทฤษฎีการบริหารประสิทธิภาพ" (Theory X) และ "ทฤษฎีการบริหารมุ่งเน้นบุคลากร" (Theory Y) ซึ่งเป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นไปที่วิธีการมองการทำงานและการจัดการบุคคลในองค์กรอย่างต่างกัน
ทฤษฎี X (Theory X)
:<3:เชื่อว่าบุคคลมีความไม่สนใจและเก็บตัวตนเอาเข้าองค์กร
:<3:เชื่อว่าคนจำนวนมากจะต้องถูกควบคุมและต้องมีการกำหนดกฎระเบียบเข้มงวด
:<3:คนจะหลีกเลี่ยงการทำงานและมีแนวโน้มที่จะหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ
:<3:จำเป็นต้องมีการตัดสินใจและควบคุมจากผู้บริหาร
ทฤษฎี Y (Theory Y)
:<3:เชื่อว่าบุคคลมีความกระตือรือร้นและมีความรับผิดชอบในการทำงาน
:<3:เชื่อว่าคนสนใจในการพัฒนาตนเองและการเรียนรู้ใหม่ๆ
:<3:มีความพร้อมที่จะรับผิดชอบและมีความคาดหวังที่สูงในการทำงาน :<3:สนับสนุนให้มีการทำงานเป็นกลุ่มและการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
คริส อาร์กีลิส (Chris Argyris)
เสนอให้ปรับการบริหารไปตามการเตบิโตของมนุษย์เมื่อพนักงาน เติบโตเป็นผู้ใหญ่มากขนึ้ต้องปรับรูปแบบการบริหารงาน ให้มีความเป็นอิสระ ในการทำงานมากขึ้นมีความรับผิดชอบมากขึ้นและลดการสั่งการลง
แนวคิดการจัดการเชิงปริมาณ
(Quantitative Management Approaches)
แนวคิดการจัดการร่วมสมัย
(Contemporary Management Approach)
ดับเบิลยูเอ็ดเวิร์ดส์เดมมิ่ง (W. Edwards Deming)
บิดาแห่งการบริหารคุณภาพ
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองคก์าร (Total Quality Management)
เป็นแนวคิดที่เน้นการบริหารคุณภาพทั้งองคก์ร เพื่อให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง มีการผลิตที่มีคุณภาพและตอบสนองความต้องการลูกค้าอย่างแท้จริง ส่งผลให้ผู้บริหารสามารถแข่งขันกับคู่แข่งอื่นในระดับโลกได้
:<3:องคป์ระกอบที่สำคัญ4 ประการของการบริหารคุณภาพทงระบบ
การมีส่วนร่วมของพนักงาน ( Employee involvement)
การเน้นที่ลูกคา้ (Focus on the customer)
การเปรียบเทียบ ( Benchmarking)
การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ( Continuous improvement)
ไมเคิล แฮมเมอร์และเจทส์แชมปี้
(Micheal Hammer & James Champy)
Hammer และ Champy
ได้เสนอแนวคิด Reengineering หมายถึง การพิจารณาหลักการพื้นฐานและการคิดขึ้นใหม่ชนิดถอนรากถอนโคนของกระบวนการธุรกิจ เพื่อบรรลุซึ่งผลลัพธของการปรับปรุงอันยิ่งใหญ่ โดยใช้มาตรวัดผลการปฏิบัติงานที่ทันสมัยและที่สำคัญที่สุดซึ่งได้แก่ ต้นทุน คุณภาพ การบริการ และความรวดเร็ว
ปีเตอร์เช็งเก้(Perter M. Senge)
“ วินัยประการที่ห้าขององคก์ารเรียนรู้ (The Fifth Discipline of Learning Organization)” 1. การมุ่งสู่ความเป็นเลิศ(Personal Mastery) 2. รูปแบบวิธีการคิดและมุมมองทเี่ ปิดกว้าง (Mental Models) 3. การสร้างและสานวิสัยทัศน์ร่วมกัน (Share Vision) 4. การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทมี (Team Learning) 5. ความคิดเชิงระบบ
ปีเตอร์ดรักเกอร์(Perter F. Drucker)
การบริหารจัดการโดยวัตถุประสงค์(Management by Objective : MBO) 1. การกำหนดเป้าหมายโดยรวมขององค์การ 2. กำหนดเป้าหมายของฝ่าย แผนกส่วนงานและเป้าหมายของพนักงานแต่ละคน 3. กำหนดแผนปฏิบัติงาน (action plans) 4. พนักงานปฏิบัติตามแผนอย่างเป็นอิสระ 5. ติดตามและทบทวนผลงานเป็นระยะ 6. ประเมินผลงาน
วิลเลี่ยม อูชิ (William G. Ouchi)
เป็นนักวิชาการด้านการจัดการชาวอเมริกันที่มีผลงานสำคัญในการพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารองค์กร และเป็นผู้สร้างแนวคิดของ "ทฤษฎี Z" ซึ่งเป็นการแก้ไขแนวคิดการจัดการองค์กรจากทฤษฎี X และ Y ของดักลาสแมคเกรเกอร์และแมคเกรเกอร์
ทฤษฎี Z ของอูชิมุ่งเน้นไปที่การสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่มีเสถียรภาพ และการเน้นการทำงานเป็นทีม โดยมุ่งเน้นไปที่คุณค่าของการทำงานทีมและความรับผิดชอบร่วมกัน แนวคิดนี้มีลักษณะเด่นด้วยการให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากรผ่านการสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุน การเปิดโอกาสให้พนักงานมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และการให้ความสำคัญกับความรับผิดชอบส่วนตัวและความชำนาญของพนักงาน
นายณรากร เหล็กโชติ รหัสนิสิต 66010915690