Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cellular injury - Coggle Diagram
Cellular injury
การบาดเจ็บของเซลล์ หมายถึงการที่เซลล์ในร่างกายไม่สามารถรักษาความสมดุลได้ โดยสิ่งที่กระตุ้นให้เกิดการบาดเจ็บของเซลล์ เช่น ปฏิกิริยาทางภูมิคุ้มกัน ปัจจัยทางกายภาพ สารเคมีก่อโรค อนุมูลอิสระ
ถ้าสิ่งกระตุ้นก่อให้เกิดความบาดเจ็บเล็กน้อยต่อเซลล์สามารถกลับเป็นปกติได้โดยยังไม่ปรากฏการตายของเซลล์ เรียนว่า Reversible(Non-lethal) cellular injury
เซลล์ที่ได้รับสิ่งกระตุ้นให้เกิดการบาดเจ็บรุนแรงแต่แรกไม่สามารถฟื้นกลับเป็นเซลล์ปกติได้ จนเกิดการตาย เรียกว่า Irreversible(Lethal) cellular injury และจะปรากฏลักษณะดังนี้ต่อไปคือ Pyknosisi, Karyolysis, Karyorrhexis, Ghost cells
เซลล์ที่ได้รับบาดเจ็บเรื้อรังแต่ไม่รุนแรงจัดอยู่ในประเภท Reversible(Non-lethal) cellular injury แต่อาจเกิดการปรับตัวของเซลล์ จะปรากฏการฝ่อ การเพิ่มขนาด จำนวน การเปลี่ยนชนิน การเติบโตอย่างผิดปกติของเซลล์
กลไกลการบาดเจ็บของเซลล์
สิ่งที่ประตุ้นเซลล์ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 1.การเปลี่ยนแปลงที่เยื่อหุ้มเซลล์ คือ เยื่อหุ้มเซลล์ทำหน้าที่ได้ไม่สมบูรณ์,การฉีกขาดของเยื่อหุ้มเซลล์ เช่น อุบัติเหตุ การทำลายโดยอนุมูลอิสระ 2.การเปลี่ยนแปลงไซโตพลาสซึม คือ การขัดขวางกระบวนการเมตาบอลิซึม , การล้มเหลวในการสร้างพลังงาน สาเหตุคือ พร่องออกซิเจน 3.การเปลี่ยนแปลงที่นิวเครียส คือ การทำลายพันธุกรรม สาเหตุคือ ได้รับรังสีก่อประจุ รับยาเคมีบำบัด
การขาดเลือดเฉพาะที่ (Ischaemia) จากการตีบหรืออุดกั้นของหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อร่างกาย ต่อมาการทำงานของไมโตคอนเดรียจะบกพร่อง ลดการสร้าง ATP และมีการสร้างอนุมูลอิรสะออกซิเจน (ROS) และROS มีผลกับเซลล์ดังนี้
-
-
-
ภาวะพร่องออกซิเจน การผลิตสาร ATP จะลดลงเรื่อยๆ จึงต้องเพิ่มการสลายอาหารระดับเซลล์ด้วยวิธี ไกลโคไลซิส เพื่อให้ได้พลังงานมากพอกับความต้องการของเซลล์ขณะเกิดการบาดเจ็บ
-
-
-
-
-
-