Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบพฤติกรรมนิยม - Coggle Diagram
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบพฤติกรรมนิยม
ความเป็นมาของทฤษฎี
เกิดจากการประยุกต์หลักการเรียนรู้ที่ได้จากห้องทดลองและการบำบัด เกิดจากการประยุกต์หลักการเรียนรู้ที่ได้จากห้องทดลองและการบำบัดรักษาคนไข้ในคลินิก มาใช้แก้ไขเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของคนปกติ
วัตสันและเรนเนอร์ ได้ใช้วิธีการวางเงื่อนไขมาแก้ไขปัญหาวิธีที่ใช้กันคือการวางเงื่อนไขซ้ำซึ่งเป็นการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้าที่ทำให้บุคคลพอใจซ้ำๆจนเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์
แนวคิดที่สำคัญ
1.มนุษย์ ที่เกิดมานั้นไม่ดีหรือไม่เลวแต่จะเริ่มต้นชีวิตในลักษณะที่ว่างเปล่า
2.มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างๆในสิ่งแวดล้อม
3.พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการเรียนรู้และจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
4.มนุษย์สามารถควบคุมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้
เป้าหมายการให้คำปรึกษา
เพื่อช่วยให้ให้ผู้รับคำปรึกษาได้เรียนรู้พฤติกรรมใหม่ที่พึงประสงค์
เพื่อสร้างสภาพการเรียนรู้ใหม่ ที่จะช่วยปรับเปลี่ยนแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
เพื่อช่วยให้ผู้รับคำปรึกษาได้เรียนรู้วิธีการใหม่ที่เหมาะสม
กระบวนการและเทคนิคการให้คำปรึกษาแบบพฤติกรรมนิยม
ขั้นตอนการให้คำปรึกษา
1.ขั้นสร้างสัมพันธภาพ
2.ขั้นสำรวจปัญหาและพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
3.ขั้นการวิเคราะห์ปัญหา
4.ขั้นการเลือกเทคนิค
5.ขั้นการประเมินผล
6.ขั้นยุติการให้คำปรึกษา
เทคนิคในการให้คำปรึกษาแบบพฤติกรรมนิยม
1.การเสริมแรง
2.การเรียนรู้จากตัวแบบ
3.การฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออก
4.การขจัดความรู้สึกอย่างเป็นระบบ
5.การฝึกการผ่อนคลาย
6ยุทธวิธีในการบริหารจัดการตนเองและพฤติกรรมการนำตนเอง
บทบาทผู้ให้คำปรึกษาแบบพฤติกรรมนิยม
ผู้ให้คำปรึกษาควรมีลักษณะอบอุ่น เห็นอกเห็นใจ ให้การยอมรับ และไม่ตัดสิน
ผู้ให้คำปรึกษาจะต้องช่วยให้ผู้รับ
คำปรึกษาสามารถแก้ไข หรือ ความยุ่งยากของปัญหา
ผู้ให้คำปรึกษาจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้มองการไกลและ เข้าใจปัญหาของ
ผู้รับคำปรึกษา