Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประวัติความเป็นมาของการศึกษาพิเศษ - Coggle Diagram
ประวัติความเป็นมาของการศึกษาพิเศษ
ในฝรั่งเศษ
อิทารด์ (Itard)
(พุทธศักราช 2318-2381)
มีความเชี่ยวชาญทางโรคหู
ให้การศึกษาแก่นักเรียนหูหนวก
ช่วยให้วิคเตอร์มีพฤติกรรมที่เป็นมนุษย์มากขึ้น
คนแรก ที่พยายามสอนเด็กชายวิคเตอร์ (Victor) อายุ 12 ปี
เขาเป็นผู้ค้นคิดวิธีการปรับพฤติกรรม
ชีกวิน (Sequin) (พุทธศักราช 2355-2423)
เข้าไปอยู่ในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ พุทธศักราช 2391
ให้การศึกษาแก่เด็กปัญญาอ่อน
เป็นลูกศิษย์ของอิทารด์
ได้รับปริญญาทางการแพทย์ในปี พุทธศักราช 2404
งานเขียนของเขาเป็นงานที่เกี่ยวกับ การใช้วิธีการของอิทารด์ ซึ่งเป็นพื้นฐานให้กับงานของมอนเทสซอรี (Montessori) ในเวลาต่อมา
มอนเทสซอรี (Montessori) (พุทธศักราช 2413-2495)
สนับสนุนส่งเสริมการให้การศึกษา สำหรับเด็กวัยก่อนประถมศึกษา และเด็กที่มีพัฒนาการในช่วงต้นๆ ของชีวิต
เป็นผู้สานต่องานของอิทารด์
นักการศึกษาสำหรับเด็กปัญญาอ่อน
ผู้หญิงคนแรกในประเทศอิตาลีที่ได้รับปริญญาทางการแพทย์
ประเทศสหรัฐอเมริกา
กาลอเด็ต (Gallaudet) (พุทธศักราช 2330-2394)
ได้พบเด็กหูหนวกคนหนึ่ง และพยายามสอนเด็กคนนี้
ได้จัดตั้งโรงเรียนประจำแห่งแรก สำหรับเด็กหูหนวก ในเมืองฮาร์ตฟอร์ด (Hart- ford) มลรัฐคอนเนกติกัต ในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
เป็นบาทหลวง
สเทราสส์ (Strauss) เป็นนักประสาทวิทยา และ เวอร์เนอร์ (Werner) นักจิตวิทยาพัฒนาการ
ได้เริ่มโปรแกรมฝึกอบรม และดำเนินงานวิจัย ในมลรัฐมิชิแกน ซึ่งมีอิทธิพลต่อการศึกษาพิเศษ ตั้งแต่ปลายปี พุทธศักราช ๒๔๗๓ จนถึงปัจจุบัน
ฮาว (Howe) (พุทธศักราช 2344-2419)
ครูสอนเด็กพิการซ้อน คือ หูหนวก และตาบอด
ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมากในการสอน ลอร่า บริดจ์แมน (Laura Bridgman)
ก่อตั้งโรงเรียนสอนคนตาบอดเปอร์กินส์ (Perkins)
เป็นทั้งแพทย์และนักการศึกษา
ฮอบส์ (Hobbs)
นักจิตวิทยา และนักการศึกษา
รู้สึกประทับใจต่อการปฏิบัติอาชีพในบทบาทต่างๆ ของนักการศึกษา ในยุโรป ในการดูแล และให้การศึกษาแก่เด็กที่มีปัญหาทางพฤติกรรม
ความเป็นมาของการจัดการศึกษาพิเศษในประเทศไทย
พุทธศักราช 2495 มีการจัดตั้งมูลนิธิเศรษฐเสถียรขึ้น เพื่อร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการเปิดเป็นโรงเรียนเศรษฐเสถียร
ในปีพุทธศักราช 2507 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถได้โปรดเกล้าฯ ทรงรับมูลนิธิอนุเคราะห์คนหูหนวกไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์
พุทธศักราช 2499 นักเรียนพิการตาบอดได้เข้าเรียนร่วมกับนักเรียนปกติ
พุทธศักราช 2500 กระทรวงศึกษาธิการได้จัดให้มีการทดลองนำเด็กเรียนช้าเข้าเรียนร่วมกับโรงเรียนปกติระดับประถมศึกษาของกรุงเทพมหานครเป็นครั้งแรก
พุทธศักราช 2494 กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดการเรียนการสอนให้แก่เด็กพิการประเภทต่างๆ
พุทธศักราช 2504 – 2508 มูลนิธิอนุเคราะห์คนพิการฯ ร่วมกับกองการศึกษาพิเศษจัดตั้งโรงเรียนสอนเด็กพิเศษขึ้น
พุทธศักราช 2504 กระทรวงศึกษาธิการได้จัดตั้งโรงเรียนสอนคนหูหนวกขึ้นอีกแห่งหนึ่งในเขตทุ่งมหาเมฆ
พุทธศักราช 2504 – 2509 กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนด้านวิทยาการ จากอเมริกันเพื่อคนตาบอดโพ้นทะเล
พุทธศักราช 2485 นางสาวเจเนวีฟ คอลฟิลด์ สตรีตาบอดชาวอเมริกันริเริ่มก่อตั้งโรงเรียนสอนคนตาบอด กรุงเทพมหานคร พร้อมกับได้มีคณะบุคคลร่วมจัดตั้งมูลนิธิ ช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์
พุทธศักราช 2505 – 2507 มีการจัดตั้งมูลนิธิช่วยคนปัญญาอ่อนแห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์ขึ้น
พุทธศักราช 2478 การตราพระราชบัญญัติประถมศึกษาภาคบังคับ ประกาศยกเว้นให้คนพิการไม่ต้องเข้าเรียน
พุทธศักราช 2507 กรมสามัญขยายการเปิดชั้นเรียนร่วมสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินประเภทหูตึง
พุทธศักราช 2512 – 2516 กรมการฝึกหัดครูอนุมัติการจัดตั้งศูนย์ทดลองสอนเด็กพิการชั้นเด็กเล็กขึ้นในวิทยาลัยครูสวนดุสิตพร้อมทั้งเปิดสอนวิชาการศึกษาพิเศษ ในระดับปริญญาตรีเป็นแห่งแรก
พุทธศักราช 2520 เป็นต้นมา กระทรวงศึกษาธิการได้ขยายโครงการสอนเด็กเรียนช้า
พุทธศักราช 2520 เป็นต้นมา กระทรวงศึกษาธิการได้ขยายโครงการสอนเด็กเรียนช้า