Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติใน ทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติใน
ทางเดินอาหาร
ผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร
(upper gastrointestinal bleeding; UGIB)
อาการและอาการแสดง
ถ่ายอุจาระสีดำ
ซีด อ่อนเพลีย
ปวดท้อง ปวดศีรษะหน้ามืดเหมือนจะเป็นลม ความดันโลหิตต่ำ
มือเท้าเย็น เป็นตะคริว
อาเจียนเป็นเลือด
การพยาบาล
1.เสี่ยงต่อการได้รับอันตรายจากภาวะ
สาเหตุ
-การรับประทานยาแก้ปวดหรือยาเสตียรอยด์
-ดื่มสุรา สูบบุหรี
-เป็นแผลในทางเดินอาหาร
ผู้ป่วยที่ทำทวารเทียม (Colostomy)
ผู้ป่วยที่มีภาวะ Gall stone and cholecystitis
ผู้ป่วยที่มีภาวะ Cirrhosis
ภาวะแทรกซ้อน
ผู้ป่วยที่มีภาวะ Dumping Syndrome
เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจาการอาหารระบายออกจากกระเพาะเข้าลำไส้เล็กรวดเร็วเกินไปจนลำไส้เกิดการโป่งพอง มี 2 ชนิด
Early dumping ซึ่งเกิดภายใน 10-30 นาทีแรกหลังรับประทานอาหาร อาการที่พบ ได้แก่ ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน หน้ามืด เป็นลม เกิดจากการที่อาหารเข้าสู่ลำไส้เล็กมากไปและดูดซึมไม่ทัน (Chaves & Destefani, 2016)
Late dumping ซึ่งเกิดในช่วง 1-3 ชั่วโมงหลังรับประทานอาหาร ซึ่งเกิดจาก การดูดซึมอาหารอย่างรวดเร็ว ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือด สูงและร่างกายผลิตอินซูลิน (Insulin) ออกมาปริมาณมากผิดปกติจนทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดลดลงอย่างรวดเร็ว จนเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) มีอาการทางระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น หน้าแดง มึนศีรษะ ใจสั่น ความดันต่ำ หัวใจเต้นเร็ว
การพยาบาล
1.แนะนำในการรับประทานอาหารให้หลีกเลี่ยงอาหารจำนวนมากในแต่ละมื้อ โดยควรรับประทานอย่างน้อยวันละ 6 มื้อ ๆ ละน้อยๆ
-แนะนำอาหารที่มีโปรตีนสูง ไขมันสูงแต่มีคาร์โบไฮเดรตต่ำ เช่น เนื้อสัตว์ ไข่ ถั่วเหลือง ปลา
-ควรรับประทานอาหารที่ค่อนข้างแห้งและไม่ควรดื่มน้ำปริมาณมากๆ พร้อมกับอาหาร ควรดื่มน้ำระหว่างมื้อของอาหาร
2.รับประทานอาหารรสจืดที่มีแคลลอรี่เพียงพอ หลีกเลี่ยงอาหารรสเค็มจัด หวานจัดหรือแป้งมาก
แนะนําให้รับประทานอาหารช้าๆไม่รีบร้อนการดื่มน้ําไม่ควรดื่มพร้อมการรับประทานอาหารแต่ให้ดื่มน้ำก่อนและหลังรับประทานอาหารเสร็จ 30-45 นาที
หลังรับประทานอาหาร ควรนอนราบหรือศีรษะสูงเล็กน้อย (semi-fowler’s position)ลดการไหลของอาหารตกถึงลำไส้อย่างรวดเร็ว
5.กรณี late dumping syndrome การรับประทานน้ําตาลหรืออาหารจะช่วยให้อาการดีขึ้น
6.ผู้ป่วยมักจะมีอาการอยู่ระยะหนึ่งแล้วค่อยๆ ปรับตัวได้จนไม่มีอาการ ดูแลให้ได้รับยากลุ่มต้านประสาทซิมพาเทติค เพื่อลดการเคลื่อนไหวของลำไส้ก่อนรับประทานอาหาร
7.สังเกตอาการของภาวะ Dumping syndrome เช่น เจ็บบริเวณลิ้นปี่ คลื่นไส้อาเจียน ปวดบิด ปากมีอาการรุนแรงขึ้น ควรรายงานแพทย์