Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นาฏศิลป์ไทยยุคแรก, image, image, image, image, image, image, image, image,…
นาฏศิลป์ไทยยุคแรก
สมัยธนบุรี
การละครในสมัยกรุงธนบุรี มีละครราของหลวงที่มีทั้งผู้หญิงและผู้ชายแสดง สมัยนี้เป็นช่วงต่อเนื่องจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าเมื่อปี พ.ศ 2310 เหล่าศิลปินได้กระจัดกระจายไปในที่ต่าง ๆ เพราะผลจากสงคราม บางส่วนก็เสียชีวิต บางส่วนก็ถูกกวาดต้องไปอยู่พม่า ครั้งพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ปราบได้ภิเษกไป ซึ่งในพ.ศ 2311 ทรงได้พื้นฟูการละครขึ้นใหม่และรวมศิลปินตลอดทั้ง บทละครเก่า ๆ
ที่กระจัดกระจายให้เข้ามาอยู่รวมกันตลอดจนพระองค์ได้ทรงพระรา ชนิพนธ์บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ขึ้นอีก 5 ตอน คือ หนุมานเกี้ยวนางวานริน ตอนท้าวมาลีราชว่าความ ตอนทศกัณฑ์ตั้งพิธีทรายกลด (เผารูปเทวดา) ตอนพระลักษณ์ถูกหอกกบิลพัท ตอนปล่อยม้าอุปการ มีคณะละครหลวง และเอกชนเกิดขึ้นหลายโรง เช่น ละคร หลวงวิชิตณรงค์ ละครไทยหมื่นเสนาะภูบาล หมื่นโวหารภิรมย์ นอกจากละครไทยแล้วยังมีละครเขมรของ หลวงวาทีอีกด้วย
-
-
ละครนอก มีมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เป็นละครที่แสดง กันนอกราชธานี แต่เดิมคงมาจากการละเล่นพื้นเมือง และ ร้องแก้กัน แล้วต่อมาภายหลังจับเป็นเรื่องเป็นดอนขึ้น เป็น ละครที่ดัดแปลงวิวัฒนาการมาจากละคร "โนห์รา" หรือ "ชาตรี" โดยปรับปรุงวิธีแสดงต่างๆ ตลอดจนเพลงร้อง และดนตรีประกอบให้แปลกออกไป
พระเจ้าดากให้เจ้าพระยาจักรี ยกทัพดีได้เวียงจัน แล้ว อัญเชิญพระแก้วมรกดลงไปกรุงธนบุรี ประดิษฐานที่วัด แจ้ง พ.ศ. 2322 โปรดให้มีงานสมโภชพระแก้วมรกด 7 วัน 7 คืน บริเวณสองฟากแม่น้าเจ้าพระยา หน้าวัดแจ้ง กับ หน้าวัดโพธิ์ มีการให้ละครในและละครนอกแสดงแข่งขัน
มีคณะละครหลวง และเอกชนเกิดขึ้นหลายโรง เช่น ละคร หลวงวิชิตณรงค์ ละครไทยหมื่นเสนาะภูบาล หมิ่นโวหาร ภิรมย์ นอกจากละครไทยแล้วยังมีละครเขมรของหลวง พิพิธวาทีอีกด้วย
ละครใน สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ทรงรวบรวมตัวละคร ที่กระจัดกระจายหนีภัยสงครามบ้างและตัวละครผู้หญิง ของเจ้านครศรีธรรมราช เข้ามาเป็นครูหัดละครผู้หญิงของ หลวงขึ้นใหม่ จึงได้มีละคร ผู้หญิงแต่ของหลวงเพียงโรง เดียวดามแบบเดิม บทละครก็ใช้ของเดิมซึ่งไม่ค่อยจะ สมบูรณ์
สมัยสุโขทัย
การแสดงในสมัยสุโขทัย
ระบำเทววารีศรีเมืองบางขลัง
ระบำาเทววารีศรีเมืองบางขลัง ถือกำเนิดขึ้นภายใต้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ โดยการประดิษฐ์ท่าร่าของ อ.มงคล อินมา ศิลปินพื้นบ้านดีเด่นด้านนาฏศิลป ของจังหวัดสุโขทัย ลักษณะท่าร่าได้จินตนาการมาจากเหล่าอัปสรเทวดา นางฟ้าทั้ง 7 วัน (จึงใช้ผู้แสดง 7 คน) อิงแอบกับความสำคัญของลำน้ำฝากระ ดานเสมือนเส้นเลือดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงผู้คนในชุมชน ที่มาคอยปกปักรักษา โบราณสถานเอาไว้ แนวคิดของท่าร่าเน้นถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีบทบาทต่อความ
รู้สึกนึกคิดในโลกของความจริง ที่ต้องการให้เทวดานางฟ้ามาปกป้อง คุ้มครองสิ่งอันเป็นที่บูชา ท่าร่าต่างๆ
ระบำเทวีศรีสัชนาลัย
เป็นระบําที่วิทยาลัยนาฏศิลปะสุโขทัยคิดประดิษฐ์ขึ้น โดยนำหลักฐานทั้งทางด้านท่ารำเครื่องแต่งกายมาจากรูปปั้น รูปแกะสลักเทวดา นางฟ้า และลวดลายต่างๆ ที่ปรากฏอยู่บนโบราณสถาน
โบราณวัตถุที่ขุดค้นพบ ณ อุทยานประวัติศาสตร์สุทัย อำเภอศรีสัชนาลัย
ท่วงทํานองแต่งโดย อาจารย์บัณฑิต ศรีบัว
อาจารยประจําหมวดวิชาเครื่องสายไทย ภาควิชาดุริยางค์
ระบำสุโขทัย
พบในระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ๒๐ เป็นยุคสมัยที่ชนชาติไทย เริ่มสร้างสรรค์ศิลปะด้านนาฏศิลป์ และดนตรีในเป็นสมบัติประจำชาติ โดยอาศัยหลักฐานอ้างอิงที่กล่าวไว้ในเอกสาร และหลักศิลาจารึก การแต่งทำนอง กระบวนท่ารำ และเครื่องแต่งกาย ประดิษฐ์ขึ้นให้มีลักษณะที่อ่อนช้อยงดงาม ตามแบบอย่างของศิลปะสมัยสุโขทัย
-
ในสมัยนี้ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับการละครมากนัก แต่จะเป็นการแสดงที่เน้นหนักไปทาง ศิลปะแห่งการละเล่นพื้นเมืองประเภทร้าและระบำมากกว่า และได้มีการกำหนดแบบแผนของโขน การแสดงละครที่สันนิษฐานว่ามีในสมัยนี้คือเรื่องมโนราห์แ ละเกิดละครแก้บน ในสมัยนี้ด้วย
สมัยน่านเจ้า
สมัยอาณาจักรน่านเจ้า ไทยมีนิยายเรื่องหนึ่งคือ “มโนห์รา” ซึ่งปัจจุบันนี้ก็ยังมีอยู่ใน ประเทศจีนตอนใต้ ซึ่งเป็นหนังสือนิยายทีเขียนบรรยายถึงเรื่องของชาวจีนดอนได้ และเขียนถึงนิยายการละเล่นต่างๆ ของจีนตอนใต้ มีอยู่เรื่องหนึ่งที่ชื่อเหมือนกับ นิยายของไทย คือเรื่อง “นามาโนห์รา” และอธิบายไว้ด้วยว่าเป็นนิยายของพวกไต พวกไดเป็นน่าน เจ้าสมัยเดิม คำว่า “นามาโนห์รา” เพี้ยนมาจากคำว่า “นางมโนห์รา” ของไทย
พวกได คือ ประเทศไทยเรา แต่เป็นพวกที่ไม่อพยพลงมาจากดินแดนเดิม ชีวิต และความเป็นอยู่ของพวกไตเป็นแบบชาวเหนือของไทยประกอบอาชีพทำสวนผล ไม้ พวกไทยนี้สืบเชื้อสายมาจากสมัยน่านเจ้า ซึ่งได้รักษาขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมไว้อย่างเดียวกับไทยภาคเหนือ การละเล่นของไทยในสมัยน่านเจ้า นอกจากเรื่องมโนห์รา ยังมีการแสดงระบำต่างๆ เช่น ระปาหมวก ระปานกยูง
ซึ่งปัจจุบันจีนถือว่าเป็นการละเล่นของชนกลุ่มน้อยในประเทศของเขา
-
สมัยอยุธยา
เดิมละครที่เล่นกันอยู่มีลักษณะเป็นละครเร่รูปแบบการแสดงจะ ไม่มีความประณีตมากนักจะแสดงตามพื้นที่ว่าง ไม่ต้องอาศัยโรง ละคร เรียกว่า ละครชาตรี ต่อมาได้มีการดัดแปลงรูปแบบการ แสดงละครให้มีวิวัฒนาการขึ้นเป็นละครร่า เรียกว่า ละครใน และ ละครนอก โดยปรับปรุงรูปแบบการแสดงมาจากละครชาตรีให้มี การแต่งกายที่ประณีตงดงามมากยิ่งขึ้น มีดนตรีและบทร้อง ประกอบการแสดง และมีการสร้างโรงแสดงสำหรับไว้แสดงละคร อีกด้วย
ละครนอก
เป็นละครที่ชาวบ้านจัดแสดงนอกเขต พระราชฐาน ผู้แสดงจะเป็นชายล้วน ดำเนินเรื่องอย่างรวดเร็วและได้มีการ สอดแทรกบทจลกในเรื่องด้วย
ละครใน
แสดงในพระราชวัง ผู้แสดงเป็นผู้หญิงล้วน งลวน โดยมีพระราชกำหนดห้ามมิให้ชาวบ้านเล่ อิเหนารามเกียรติ์ อุณรุท
-
นาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะการแสดงประกอบดนตรีของไทย เช่น ฟ้อน รำ ระบำ โขน แต่ละท้องถิ่นจะมีชื่อเรียกและมีลีลาท่าการแสดงที่แตกต่างกันไป สาเหตุหลักมาจากภูมิประเทศ ภูมิอากาศของแต่ละท้องถิ่น ความเชื่อ ศาสนา ภาษา นิสัยใจคอของผู้คน ชีวิตความเป็นอยู่ของแต่ละภาค
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-