Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด, 3c0534da1f35f71178c3250175a50000 ผ่าตัด,…
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการประเมินและเฝ้าระวังสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงหลังจากกลับจากห้องผ่าตัด
เพื่อเป็นแนวทางในการให้การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน ระยะแรกหลังผ่าตัด
อุปกรณ์รับผู้ป่วย
เครื่อง monitor
อุปกรณ์ในการวัดสัญญาณชีพ
อุปกรณ์ในการให้ออกซิเจน
เสาน้ำเกลือ
pad slide
การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินทางเดินหายใจ
การวัดสัญญาณชีพ
วัดทุก 15 นาที X 4คร้ัง
วัดทุก 30 นาที X 4คร้ัง
วัดทุก 1 ชั่วโมง X 4คร้ัง
วัดทุก 4 ชั่วโมงเมื่ออาการคงที่
ระดับความรู้สึกตัวและสภาพทางสมอง
ลักษณะ /ปริมาณปัสสาวะที่ออกมา
ประเมินแผลผ่าตัด
ประเมินลักษณะของบาดแผล
ตำแหน่งของแผล ขนาดของแผล
วัสดุที่ปิดแผลเป็นอย่างไร
สิ่งคัดหลั่งที่ออกมา มีเลือดซึมหรือไม่ ขอบแผลแดง บวม หรือมีหนองออกมาหรือไม่
ประเมินอาการปวดแผลหลังผ่าตัด
เครื่องมือประเมินความปวด
(NIPS) ในผู้ป่วย อายุ < 1year
(FLACC) ในผู้ป่วย 1-3 years
(FACES) ในผู้ป่วย> 3-8 years
(NRS) ในผู้ป่วย> 8 years
Behavior Pain Scale(BPS) ในผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
การบรรเทาปวดหลังผ่าตัด
การประคบร้อน ประคบเย็น
ทำกายภาพบำบัดหลังผ่าตัด
การรับยาแก้ปวดตามแพทย์สั่ง
ประเมินท่อระบาย
ประเมินชนิดของท่อระบาย
สิ่งคัดหลั่งที่ออกมา จำนวน สี กลิ่น ที่ได้
จัดท่านอนของผู้ป่วยหลังผ่าตัด
ในผู้ป่วย Under GA
ในกรณีที่ผู้ป่วยรู้สึกตัวให้นอนหนุนหมอน ศรีษะสูง ได้ (semi flowler)
กรณีผู้ป่วยยังไม่รู้สึกตัว ให้นอนหงายราบ ไม่หนุนหมอน
ในผู้ป่วย SP
ให้ผู้ป่วยนานราบอย่างน้อย 6-8 หลังผ่าตัด
ข้อควรระวัง/การปฏิบัติตัวหลังผ่าตัด
การดูแลแผลผ่าตัด
ระวังไม่ให้แผลเปี้ยกชื้น สกปรก
ติดตามอาการตามที่แพทย์นัด ตัดไหมตามนัด
การไอแบบมีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันแผลแยก ไม่ปวดแผลมากขึ้น
ไม่เปิดแผลก่อนถึงวันนัด กรณีพลาสเตอร์ปิดแผลหลุด แนะนำให้ไปทำแผลก่อนวันนัดได้ที่โรงพยาบาล หรือสถานพยาบาลใกล้บ้าน
ห้ามยกของหนักหรือออกกำลังกายอย่างหักโหม
รับประทานยาฆ่าเชื้อให้ครบ ตามแผนการรักษาของแพทย์ ถึงแม้อาการดีขึ้นแล้วก็ตาม
ทานอาหารที่มีโปรตีนสูง เช่น เนื้อสัตว์ทุกชนิด นม ไข่ ถั่วต่างๆ เพื่อช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น