Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hand foot mouth diseas โรคมือ เท้า ปาก (HFMD), Pt.เพศชาย อายุ1ปี 1เดือน,…
Hand foot mouth diseas
โรคมือ เท้า ปาก
(HFMD)
อาการ
ไข้สูง 39 องศาเซลเซียส ประมาณ 2 วันแรก -ไข้ต่ำๆ 37.5-38.5 องศาเซลเซียส นาน 3-5 วัน
ตุ่มแผลในปากบริเวณเพดานอ่อน ลิ้น กระพุ้งแก้ม ขนาด 4-5 มิลลิเมตร เป็นสาเหตุให้เด็กไม่ดูดนม/ไม่รับประทานอาหารเพราะเจ็บ,น้ำลายไหล
บริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า ส้นเท้ามีตุ่มพอง Vesicles สีขาวขุ่นบนฐานรอบสีแดง ขนาด 3-7 มิลลิเมตร
เจ็บคอ
เบื่ออาหาร
การติดต่อ
แพร่กระจายแบบฝอยละออง
( Droplets)
ติดต่อได้จากการสัมผัสสารคัดหลั่งจากตุ่มน้ำใส สารคัดหลั่งจากจมูกและปากได้แก่ น้ำมูก เสมหะ หรือน้ำลายของผู้ป่วย
จาม
ไอ
สาเหตุ
ระยะฟักตัว 3 - 6 วัน
พบระบาดมากในช่วงฤดูฝน
มักเป็นบ่อยในทารกและเด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบ
เกิดจากเชื้อไวรัส2 ตัว
เกิดจากการติดเชื้อกลุ่มไวรัส (Enterovirus 71) < พบได้น้อยมีอาการรุนแรง
พบได้บ่อยที่สุดเชื้อไวรัส (Coxsackievirus A 16) < พบได้บ่อยในกลุ่ม แรกเกิดถึงอายุ 5 ปี < อาการไม่รุนแรง หายได้เอง
Health History
ประวัติการผ่าตัด : ปฏิเสธ
การแพ้ยา แพ้อาหาร : ปฏิเสธ
ประวัติโรคประจำตัว : ปฏิเสธ
การได้รับวัคซีน : ตามเกณฑ์
การตรวจร่างกาย
GA : Thai BOY 1Year1 months old, Active
HEENT :white papule on erythematous base
Vital sign : BP - mmHg. PR 150/min RR 30 /min, BT 38.4 C O2sat 100%RA
LUNG : Clear
Heart :No murmur
การป้องกัน
3.การใช้ช้อนกลาง และหลีกเลี่ยงการใช้สิ่งของร่วมกัน เช่น แก้วน้ำ ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดมือ
4.หมั่นทำความสะอาดของใช้และของเล่นของเด็กเป็นประจำ เพื่อลดเชื้อโรคที่อยู่ในสิ่งแวดล้อม
2.หมั่นให้เด็กล้างมือบ่อยๆ ด้วยน้ำและสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์ ทั้งก่อนและหลัง รับประทานอาหารหรือเข้าห้องน้ำ เพื่อลดเชื้อสะสมบนมือและลดการแพร่สู่ผู้อื่น
5.หากพบผู้ป่วย ควรให้หยุดเรียนและรักษาจนกว่าจะหาย แยกของใช้ส่วนตัวเด็กป่วยออกจากเด็กปกติ และไม่ควรคลุกคลีกับคนอื่นๆ ในครอบครัวหรือชุมชน เพื่อชะลอการแพร่กระจายเชื้อ
1.ดูแลสุขอนามัยของเด็กให้สะอาด โดยให้เด็กตัดเล็บให้สั้น
Differential diagnosis
Herpangina
เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสในกลุ่มเอนเทอโรไวรัส (Enterovirus Infection) ซึ่งทำให้เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร
อาการ หลังจากติดเชื้อประมาณ 2 วัน ผู้ป่วยอาจมีตุ่มแดง หรือแผล
เปื่อยขอบสีแดงบริเวณเพดานปากและลำคอ ซึ่งสร้างความเจ็บปวด แต่อาจหายได้เองใน 7 วัน
Atopic dermatitis
อาการและลักษณะของโรคนี้จะมีอาการคันมาก ลักษณะเป็นผื่นแดงหรือมีตุ่มแดงนูน ตุ่มน้ำใส ซึ่งเมื่อแตกออกเป็นน้ำเหลืองไหลเยิ้มแล้วกลายเป็นสะเก็ดแข็ง
ผิวหนังอักเสบจะพบมากบริเวณใบหน้า ศีรษะ บริเวณข้อพับแขน ข้อพับขา คอ และผิวหนังตำแหน่งที่มีการเสียดสีแต่ในรายที่เป็นมากๆ ผื่นเกิดทั่วร่างกายได้
Hand Foot and Mouth Disease
ส่วนใหญ่พบได้ในเด็กที่มีอายุน้อยกว่า 5 ปี
มีตุ่มพองเล็กๆ ตุ่มแดง เกิดขึ้นที่ผิวหนังบริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า และในปาก โดยตุ่มแผลในปาก ส่วนใหญ่พบที่เพดานอ่อนลิ้น กระพุ้งแก้ม
ติดเชื้อส่วนใหญ่มักไม่แสดงอาการป่วย หรืออาจพบอาการเพียงเล็กน้อย เช่น มีไข้ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ ปวดเมื่อย เป็นต้น
การพยาบาล
แนวทางการดูแล
2.ดื่มน้ำ และน้ำผลไม้
3.นอนพักผ่อนมากๆ
1.ดูแลให้ผู้ปวยรับประทานอาหารอ่อนๆรสไม่จัด
4.ถ้าเป็นเด็กอ่อนอาจต้องป้อนนมให้แทนการดูดจากขวด
5.สังเกตอาการเด็กอย่างใกล้ชิด เนื่องจากเชื้อไวรัสบางชนิดอาจทำให้อาการรุนแรงได้
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.ไม่สุขสบายเนื่องจากมีไข้และเจ็บแผลในปาก
วัตถุประสงค์การพยาบาล
เพื่อให้เด็กป่วยมีความสุขสบายมากขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
1.ไม่มีไข้ อุณหภูมิร่างกายอยู่ระหว่าง 36.5 37.4 องศาเซลเซียส
2.เจ็บแผลในปากลดลงจากเดิม
3.รับประทาอาหารได้มากขึ้น
การพยาบาล
1.ประเมินลักษณะแผลในช่องปาก และอาการปวด
2.เช็ดตัวลดไข้ เมื่อมีไข้ 37.5 องศาเซลเซียสขึึนไปและประเมินวัดไข้ซ้ำภายหลังเช็ดตัว 30 นาที
3.ปะเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชม.โดยเฉพาะอุณหภูมิร่างกาย
4.ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ เช่นดื่มน้ำและน้ำผลไม้ เพื่อช่วยระบายความร้อนออกจากร่างกาย
5.ดูแลให้ได้รับยาป้ายบริเวณที่เป็นแผลก่อนรับประทานอาหาร เพื่อบรรเทาอาการเจ็บแผลในปากและรับประทานอาหารได้มากขึ้น
6.ดูแลให้ได้รับอาหารอ่อนๆรสไม่จัด ถ้าเป็นทารกหรือเด็กเล็กที่ได้รับนมขวดอาจต้องป้อนนมให้แทนการดูดจากขวด
7.ดูแลให้ได้รับยาลดไข้ตามแผนการรักษา
2.เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่นเนื่องจากอยู่ในระยะแพร่กระจายเชื้อ
วัตถุประสงค์การพยาบาล
เพื่อควบคุมการแพร่กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่น
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ดูแลเด็กป่วยและเด็กป่วยรายอื่นไม่แสดงอาการของโรคมือ เท้า ปาก
การพยาบาล
1.การป้องกันมาตรฐาน ได้แก่ การล่างมือก่อนและหลังให้การพยาบาลทุกครั้ง
2.การดูแลความสะอาดสิ่งแวดล้อมภายในห้อง
3.จัดให้มีห้องแยกสำหรับผู้ป่วยเด็ก และแยกเด็กป่วยประมาณ 7 วันหรือจนกว่าผื่นจะหาย
4.สวมผ้าปิดปากปิดจมูกเมื่อให้การพยาบาลเด็กป่วยในระยะห่าง นอยกว่า 3 ฟุต
5.หากมีการเคลื่อนย้ายเด็กป่วยออกจากห้องให้สวมผ้าปิดปาก ปิดจมูกเด็กป่วย
Treatment
Medication
0.1% TA cream apply lesion
ORS เด็ก จิบบ่อยๆ
Paracetamol syrup
xylocain 1-2 drop tid, ac
ให้การรักษาตามอาการ
ให้ยา 0.1% TA cream apply lesion ทาผื่น ตุ่มแดงที่ขึ้นตามตัว ในปาก มือ และเท้า
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะขาดน้ำ
เยื้อหุ้มสมองอักเสบ
สมองอักเสบ
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ภาวะปอดบวมน้ำ
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
โรคเฮอร์แปงไจนา
( Herpangina)
ซึ่งเป็นโรคที่พบแผลในปาก
การวินิจฉัย
โดยทั่วไปใช้อาการและอาการแสดงเป็นส้าคัญ (Clinical diagnosis)
การส่งเพาะเชื้อจาก throat swab หรือตรวจวิธี PCR
การเก็บอุจจาระ (stool)
การส่งน้้าไขสันหลัง (CSF) ด้วยวิธี PCR technique
ส่ง serum ตรวจ EV71 -IgM repid test out Lab รอผล 14 วัน รายงานผลเป็นตัวเชื้อที่ได้รับ
วัคซีนป้องกัน
ในประเทศไทย ปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันมือเท้าปาก หรือ Enterovirus Type71 Vaccine หรือเรียกสั้นๆ ว่า EntroVac ให้บริการ เป็นวัคซีนเชื้อตาย จากการศึกษาพบว่า หลังฉีดวัคซีนครบ 2 เข็ม สามารถป้องกันการติดเชื้อมือเท้าปากจากเชื้อเอนเทอโรไวรัส 71 ได้ 97% และสามารถป้องกันความรุนแรงเมื่อติดเชื้อ EV71 ได้ 100% แต่วัคซีนชนิดนี้ไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อมือเท้าปากสายพันธุ์อื่นๆ ได้
การรับวัคซีนมือเท้าปาก ( Enterovirus Type71 Vaccine) ต้องได้รับทั้งหมด 2 โดส โดยห่างกัน 1 เดือน แนะนำสำหรับน้องอายุ 6 เดือนถึง 5 ปี 11 เดือน 29 วัน จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า หากรับครบ 2 โดส ยังมีภูมิกว่า 90% เมื่อผ่านไป 2 ปี จึงยังไม่มีคำแนะนำว่าต้องฉีดเข็มกระตุ้น โดยสามารถรับพร้อมวัคซีนพื้นฐานได้ ไม่จำเป็นต้องทิ้งระยะห่างจากวัคซีนอื่นๆ เนื่องจากเป็นวัคซีนเชื้อตาย
แพกเกจวัคซีน EV71 รพ.ราษฎร์นรา
Pt.เพศชาย อายุ1ปี 1เดือน
CC: ไข้ 1 วันก่อนมารพ.
PI : 1 วันไข้ มีผื่นที่มือ เท้า ปาก กินได้น้อย น้ำลายไหล ไม่มีไอน้ำมูก ไม่มีถ่ายเหลว ไม่มีอาเจียน
:
จัดทำโดย
พว.รอฮานี มูซอ
พยาบาลวิชาชีพ แผนก OPD PED
รหัส 65023
20/11/66