Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จัดทำโดย นรีรีตน์ ศิริภัทรโชคสกุล เลขที่ 6, หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์,…
จัดทำโดย นรีรีตน์ ศิริภัทรโชคสกุล เลขที่ 6
หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของ
การทำโครงงานคอมพิวเตอร์
เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการ
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
โดยผู้เรียนจะหาหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ
เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ และความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อ
สร้างผลงานตามความต้องการ
ได้อย่างเหมาะสม
เป็น
ผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าตามความสนใจ ความถนัดและความสามารถของผู้เรียน
โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ประโยชน์ของโครงงานคอมพิวเตอร์
ได้
ประยุกต์ใช้ความรู้
ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ
สามารถ
วิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการ
ทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาได้
ได้
ฝึกทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น
รวมถึงมีความสามารถในการบริหารจัดการ
และทำงานเป็นหมู่คณะ
ได้ฝึกทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น
รวมถึงมีความสามารถในการบริหารจัดการและ
ทำงานเป็นหมู่คณะ
ได้ใช้เวลาว่างให้
เป็นประโยชน์
ในทางสร้างสรรค์
สามารถ
สื่อสารความคิดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทั้งวิธีการพูดและ
การเขียน รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอให้ผู้อื่น
เข้าใจได้อย่างเหมาะสม
ทำให้
เกิดจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ
ในการพัฒนาระบบ
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
(Tools Development)
เป็นโครงงาน
เพื่อพัฒนาเครื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ
ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นในรูปซอฟต์แวร์
EX : ซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งาน
สร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้งานในงานพิมพ์ต่าง ๆ
โครงงานการประยุกต์ใช้งาน
(Application)
เป็นโครงงานที่
ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจำวัน
มีการ
ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ
ซึ่งอาจจะ
สร้างใหม่หรือปรับปรุงดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้ว
ให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้
ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของ
ผู้ใช้
ก่อน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
(Educational Media)
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ใน
การผลิตสื่อ เพื่อการศึกษา
โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน
อาจเป็นการ
พัฒนาบทเรียนแบบ Online
ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้โครงงานประเภทนี้สามารถ
Trick :
คัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทำความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรียน
โครงงานประเภทจำลองทฤษฎี
(Theory Experiment)
เป็นโครงงาน
ใช้คอมพิวเตอร์ในการจำลอง
การทดลอง
ของสาขาต่าง ๆ
อยู่ในรูปของสมการสูตร หรือคำอธิบาย
ก็ได้ พร้อมทั้งนำเสนอวิธีการจำลองทฤษฎีด้วยคอมพิวเตอร์
ผู้ทำต้องศึกษา
รวบรวมความรู้ หลักการ
ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ
อย่างลึกซึ้ง
ในเรื่องที่ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจำลอง หลักการ
โครงงานพัฒนาเกม
(Game Development)
เป็นโครงงาน
พัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อ
ความรู้ หรือ ความเพลิดเพลิน
เกมที่พัฒนาขึ้นนี้จะ
เน้นให้เป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ
มี
การออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์
การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่ผู้เล่น
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน
มักจะ
ได้มาจากปัญหา คำถามหรือความสนใจ
ในเรื่องต่าง ๆ การสังเกตสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่าง ๆ รอบตัว
องค์ประกอบสำคัญในการตัดสินใจ
เลือกหัวข้อที่จะนำมาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
1.มีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
2.สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้
3.มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้า หรือขอคำปรึกษา
4.มีเวลาเพียงพอ
5.มีงบประมาณเพียงพอ
6.มีความปลอดภัย
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
ช่วยให้
เกิดแนวคิดในการกำหนดขอบเขตจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดำเนินการทำโครงงาน
นั้นได้อย่างเหมาะสม
ในการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูลจะ
ต้องได้คำตอบ
ว่าจะทำอะไร ทำไมต้องทำ ต้องการให้เกิดอะไร ทำอย่างไร
ใช้ทรัพยากรอะไร ทำกับใคร และจะเสนอผลงานอย่างไร
การจัดทำข้อเสนอโครงงาน
1.ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิง
และรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ
2.วิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อกำหนดขอบเขตและลักษณะของโครงงานที่จะพัฒนา
3.ออกแบบการพัฒนา
มีการกำหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และตัวแปลภาษาโปรแกรม และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต้องใช้
การพัฒนาโครงงาน
เป็น
ขั้นตอนการลงมือพัฒนา
โครงงานตามขั้นตอนที่วางแผนไว้
1.การเตรียมการ
ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ
ที่จะใช้ในการ
พัฒนาให้พร้อมและควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นข้อความไว้
2.การลงมือพัฒนา
เป็นการปฏิบัติตามแผนงาน
ที่วางไว้ในเค้าโครง
ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้
3.การทดสอบผลงานและแก้ไข
เป็น
การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน
เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้น ทำงานได้ถูกต้อง
ตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย
4.การอภิปรายและข้อเสนอแนะ
เป็น
จัดทำสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดครอบคลุม
หัวข้อโครงงาน
เพื่อ
ช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบ
จากการทำโครงงาน
และพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนำไปหาความสัมพันธ์กับ
หลักการ ทฤษฏี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้
5.แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ
ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะ
สำหรับผู้สนใจจะนำไปพัฒนาผลงาน
ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
การเขียนรายงานโครงงาน
เป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจ
แนวคิด วิธีดำเนินการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ
ควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ
ตรงไปตรงมา
การนำเสนอและแสดงโครงงาน
เป็นขั้นตอนสุดท้าย
หลังจากการพัฒนาโครงงานเสร็จ
เรียบร้อยตามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้
เพื่อแสดงออกถึงผลิตผล
ทางความคิด ความพยายามในการทำงาน
ที่ผู้ทำโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทำให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงาน
ความสามารถที่เกิดจากการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความสามารถในการสื่อสาร
เกิดจากการที่นักเรียนเป็น
ผู้ทำโครงงานต้องนำเสนอผลงานให้ครูและเพื่อนนักเรียน
ให้เข้าใจโครงงานคอมพิวเตอร์ได้อย่างชัดเจน
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
เกิดจากการที่ผู้เรียน
ได้นำความรู้และกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการพัฒนาโครงงานและนำไปประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ความสามารถในการแก้ปัญหา
เกิดจากการที่
ผู้เรียนวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ และอธิบายปัญหาทางด้านคอมพิวเตอร์
รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับ
การแก้ไขปัญหา
ความสามารถในการคิด
การคิดวิเคราะห์
เกิดจากการที่ผู้เรียนต้อง
วิเคราะห์ปัญหาและแยกแยะ
สาเหตุว่าเกิดเนื่องจากอะไร
การคิดสังเคราะห์
เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องนำความรู้ต่าง ๆ ที่เรียนมาและจากการค้นหาข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการสร้างสรรค์โครงงาน
การคิดอย่างสร้างสรรค์
เกิดจากการที่ผู้เรียน
นำความรู้มาสร้างสรรค์ผลงาน
ใหม่ ๆ
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
เกิดจากการที่ผู้เรียนได้มี
การคิดไตร่ตรองว่าควรทำ
และไม่ควรทำโครงงานใด
เนื่องจากโครงงานที่สร้างขึ้น
อาจส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวม
การคิดอย่างเป็นระบบ
เกิดจากการที่ผู้เรียนคิดแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน
โดย
ใช้ขั้นตอนในการพัฒนาโครงงาน
ผู้เรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษา ค้นคว้า เก็บรวบรวม
ข้อมูล พัฒนา หรือประดิษฐ์คิดค้นผลงาน รวมทั้งการสรุปผลและการนำเสนอผลการศึกษา
มีผู้สอนและผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้ให้คำปรึกษา
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
เกิดจากการที่ผู้เรียนสามารถ
เลือกใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศในการแก้ปัญหา
ได้
อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีคุณธรรม