Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยเด็กอายุ 3 ปี, อ้างอิง
กระทรวงสาธารณสุข. (2563).…
ผู้ป่วยเด็กอายุ 3 ปี
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
- เสี่ยงต่อการอาจเกิดปฏิกิริยาการแพ้เนื่องจากผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด
-
- เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเลือดออกในกระเพาะปัสสาวะเนื่องจากผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด
-
- เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อจากการรั่วซึมของยาเคมีบำบัดออกนอกหลอดเลือด
-
- มีโอกาสเกิดความไม่สุขสบายและอาจเกิดภาวะ
แทรกช้อนหลังการให้ยาเคมีบำบัด
-
- มีโอกาสเกิดความบกพร่องของเยื่อบุปากจากผล
ข้างเคียงของยา
-
-
- เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน เนื่องจากมีภาวะ
ความดันโลหิตสูง
ข้อมูลสนับสนุน
BP138/86
เป้าหมายการพยาบาล
ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากควา,ดันโลหิตสูง
เกณฑ์การประเมินผล
- ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ หลอดเลือดสมองตีแตบ เส้นเลือด โป่งพอง หัวใจขาfเลือด กล้ามเนื้อหัวใจตาย หัวใจวาย โรคไต จอจาบวมแลtมีเลือดออกทำให้ตาบอด
hypertensive encephalophaty
- สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ โดยเฉพาะความดัน โลหิต BT36.5 - 37.5 องศาเซลเชียส HR 140 - 160 ครั้งต่อนาที RR
40 - 60 ครั้งต่อนาที BP 60/40 - 80/60 มิลลิเมตรปรอท
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินอาการที่แสดงถึงการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากความดันโลหิตสูง เช่น อาการปวดศีรษะ เห็นภาพช้อน คลื่นไส้อาเจียน
- ติดตามประเมินความดันโลหิตทุก 4 ชั่ว โมง
- แนะนำให้ได้รับอาหารเสริมให้เหมาะสมตามวัยอย่างครบถ้วน
7.เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเนื้อเยื่อในร่างกายพร่องออกซิเจนเนื่องจากตัวนำออกซิเจนลดลงและประสิทธิภาพในการสร้างฮอร์โมน ERYTHROPOIETIN ลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
-ท้องโตขึ้น คลำได้ก้อนที่ท้อง
-ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ Complete Blood Count Hb 7.9 g/dl และ Hct 26%
เกณฑ์ในการประเมินผล
-ไม่มีอาการเหนื่อยหอบ ปลายมือปลายเท้าซีด
-สัญญาณชีพปกติตามวัยโดยเฉพาะชีพจรและความดันโลหิตBT=36.5-37.5 องศาเซลเซียส HR = 140-160 ครั้ง/นาที RR=40-60 ครั้ง/นาที BP=60/40-80-60 มิลลิเมตร 02 sat >95 %
-Capillary refill < 2 min
-ระดับฮีมาโตคริทอยู่ในเกณฑ์ปกติ 31.2-37.2 %
-ระดับฮีโมโกลบินอยู่ในเกณฑ์ปกติ 10.4-12.4g/dl
กิจกรรมการพยาบาล
1.วัดและทำการประเมิน vital sign และ O2 satเพื่อประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
- ทำการประเมินและสังเกตอาการผิดปกติต่างๆที่บ่งบอกถึงภาวะพร่องออกซิเจน ได้แก่ อาการหอบเหนื่อย อ่อนเพลีย ปลายมือปลายเท้าเขียวชีด
- ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อนบนเตียงและกำหนดกิจกรรมที่เด็กกระทำได้ตามความรุนแรงของภาวะซีด เพื่อลดความต้องการใช้ออกซิเจน
- ดูแลให้ได้รับประทานธาตุเหล็กที่จำเป็นต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง ได้แก่ ธาตุเหล็กโปรตีน วิตามินซี และดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาเสริมธาตุเหล็กตามแผนการรักษาของแพทย์
- ทำการป้องกันและลดภาวะติดเชื้อที่ซึ่งทำให้ร่างกายต้องใช้ออกชิเจนเพิ่มขึ้นและทำให้เม็ดเลือดแดงแตกได้ง่ายขึ้น
- ทำการติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการเช่น Hb,Hct และในกรณีที่ผู้ป่วยมีภาวะชีดรุ
นแรงควรดูแลให้ผู้ป่วยได้รับเลือดตามแผนการรักษาของแพทย์
- มีการติดเชื้อในระบบต่างๆของร่างกาย เนื่องจาก
ภูมิต้านทานลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
- ไข้ 37.9 องศาเซลเซียส
- Neutrophils 45 เปอร์เซ็นต์ ต่ำกว่าปกติ
เนื่องจากการติดเชื้อในร่างกาย Lymphocyte 47 เปอร์เซ็นต์ สูงกว่าปกติ
เป้าหมายทางการพยาบาล
- ป้องกันการติดเชื้อในร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
- ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อใน
ระบบต่างๆ ของร่างกาย ได้แก่ อาการไข้ ไอมี
เสมหะ ปัสสาวะขุ่น หรือแสบขัด ถ่ายเหลว
- สัญญาณชีพปกติตามวัย BT 36.5 - 37.5 องศา เซลเชียส HR 140 - 160 ครั้งต่อนาที RR 40 -60 ครั้งต่อนาที BP 60/40 - 80/60 มิลลิเมตรปรอท
- ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการไม่พบเชื้อใดๆ WBC 6000 - 17500 cell/cu.m Neutrophil 54-62 เปอร์เซ็นต์ Lymphocyte 25-33 เปอร์เซ็นต์
Eosinophil 1-3 เปอร์เซ็นต์
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
- ประเมินภาวะติดเชื้อในร่างกาย ได้แก่ อาการไข้ ไอ มีเสมหะ มีสิ่งคัดหลั่งผิดปกติออกจากตา หู จมูก ปัสสาวะขุ่นแสบขัด
- อธิบายและชี้แจงผู้ป่วยและผู้ปกครองเกี่ยวกับ การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการติดเชื้อ ได้แก่ การ รักษาความสะอาดของร่างกาย ปากฟัน และสิ่งแวดล้อม
4.แนะนำให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลสวมใส่หน้ากาก อนามัยล้างมือให้สะอาดก่อนและหลังสัมผัสเด็กป่วย
- จำกัดการเยี่ยมหรือแยกเด็กป่วยเข้าห้องแยกเมื่อ ค่า ANC ต่ำกว่า 500 ตัวต่อลูกบาศก์มิลิเมตร
- ดูแลความสะอาดของเครื่องใช้ส่วนตัวและสิ่งแวดล้อม
- แนะนำการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และ สะอาด ปรุงสุกใหม่ หลีกเลี่ยงอาหารหมักดอง ผักผลไม้สดที่ไม่ปลอกเปลือก
การรักษาที่ได้รับ
-Doxorubicin 50 mg + 5%D/ 100 ml iv drip in 4 hr.
มีกลไกการออกฤทธิ์โดย ตัวยาจะยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ที่ชื่อว่า Type II topoisomerase เอนไซม์นี้เป็นกลไกสำคัญที่ช่วยการสังเคราะห์และซ่อมแซมสารพันธุกรรม(DNA)ทั้งในเซลล์ปกติของร่างกายรวมถึงเซลล์มะเร็งด้วย จากกลไกยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ดังกล่าว ทำให้เซลล์มะเร็งหยุดการเจริญเติบโต ไม่สามารถแพร่กระจาย จึงก่อให้เกิดฤทธิ์รักษาโรคมะเร็งได้
ผลข้างเคียง
คลื่นไส้อาเจียน เม็ดเลือดต่ำชั่วคราว แผลในปากชั่วคราว อาจมีแผลบริเวณที่ฉีดได้ถ้ามีการซึมออกนอกเส้นเสือด อาจทำให้กล้ามเนื้อหัวใจทำงานได้น้อยลง
- DNSS 1,000 ml. IV rate 100 mVhr
- LBD diet
- Record /O Q 8 hr.
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- Hb 7.9 g/dl ต่ำกว่าปกติ (ค่าปกติ 10.4-12.4g/dl)
-Hct 26% ต่ำกว่าปกติ (ค่าปกติ 31.2-37.2 %)
- Wbc 5,600/cu mm ปกติ (ค่าปกติ 4,500-10,000 cu mm)
- Neutrophil 45% ต่ำกว่าปกติ (ค่าปกติ 54-62 %)
-Lymphocyte 47% สูงกว่าปกติ (ค่าปกติ 20-40 %)
-Monocyte 12 % สูงกว่าปกติ (ค่าปกติ 0-7 %)
- Plt 131,000/cu mm ต่ำปกติ (ค่าปกติ 150,000-440,000cu mm)
- MCV 79 fl ปกติ (ค่าปกติ 78-102 fl)
- MCH 27 pg ต่ำกว่าปกติ (ค่าปกติ 27.5-33.5 pg)
- MCHC 36 g/dl สูงกว่าปกติ (ค่าปกติ 28-33 g/dl)
UA
- Blood 2+
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยเด็กชาย รู้สึกตัวดี พูดคุยถามตอบได้ นอนพักผ่อนบนเตียง มีผิวชีด เล็บซีด มีลักษณะหน้าท้องโต
เส้นผ่าศูนย์กลาง 69 เชนติเมตร ลุกนั่งเองได้ เดินเองได้ แต่เหนื่อยอ่อนเพลียง่าย รับประทานอาหารได้ประมาณมื้อละ 10 คำ ดื่มนมกล่องวันละ 3-4 กล่อง ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน นอนหลับพักผ่อนได้ อุจจาระทุกวัน
วันละ 1 ครั้ง ปัสสาวะวันละประมาณ 5-6 ครั้ง เป็นสีแดงจางๆ ไม่มีอาการปวดท้อง สัญญาณชีพ อุณหภูมิร่างกาย
37.2 องศาเซลเชียส ชีพจร 106 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 28 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 138/86 มิลลิเมตรปรอท
ข้อมูลต้อง Assessment
การซักประวัติ
มารดาให้ประวัติว่า 2 สัปดาห์ก่อน
คลำได้ก้อนที่ท้อง ยังไม่ได้พาไปรักษาที่ไหน 3 วันก่อน มารดาสังเกตเห็นว่า เต็กมีท้องโตขึ้น ยังคลำได้ก้อนที่ท้อง
มีไข้ มีปัสสาวะสีแดงจางๆ มารดาจึงพามาโรงพยาบาล
-
การผ่าตัด
- Repair hypospadias วันที่ 25 มีนาคม 2566
- Lt. Radical Nephrectomy วันที่ 2 พฤศจิกายน 2566
โรคประจำตัวและการรักษา
โรคประจำตัวและการรักษา รูเปิดปัสสาวะผิดที่ตั้งแต่กำเนิดได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดแล้ว ปัจจุบันนัดตรวจ
ติดตามอาการทุกๆ 3 เดือน
-
อ้างอิง
- กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือเฝ้าระวังและส่ง
เสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM). กรุงเทพ : สำนักงานโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์
- โรส ภักดีโต. (2562). การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด. วารสารพยาบาลสภาการชาติไทย,1(2).