Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อสาร :, ด.ญ…
องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อสาร
:
เทคโนโลยีการสื่อสาร
การสื่อสารทางคอมพิวเตอร์และสมาร์ทโฟน มีหลายวิธี เช่น WIFI, Hotspot, Lan และค่ายมือถือ 3G, 4G, 5G, 6G
อุปกรณ์ต่างๆ และผู้ให้บริการที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
3. เราท์เทอร์ (Router)
อุปกรณ์จัดเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต และเป็นตัวแจกไอพีแอดเดรสไปแต่ละเครื่อง
4. ฮับ (Hub)
อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อสัญญาณไปเครื่องอื่นๆ เพื่อให้เครื่องอื่นสามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้
2. สายนำสัญญาณอินเทอร์เน็ต
คือสายนำสัญญาณความเร็วสูง :
สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic)
ปลอดภัยจากการรบกวนและไม่เกิดการลัดวงจร เนื่องจากไม่มีการนำกระแสไฟฟ้าและทำจาดวัตถุไม่ลามไฟฟ้า
5. สายนำสัญญาณ
สายที่ใช้เชื่อมต่อในระบบแลนเป็นสายที่มีสี่คู่ บิดกันเป็นเกลียว เรียกว่า
สายลูกบิดเกลียว
: UPT และ STP
1. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP: Internet service provider)
ให้บริการเครื่อข่ายอินเทอร์เน็ต และให้บริการทรศัพท์ความเร็วสูง (ADSL)
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (People ware)
หมายถึงผู้ที่ปฏิบัติงานในด้านคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่ควบคุมดูแลระบบให้ทำงานได้ตลอดเวลา ในระบบสารสนเทศ แบ่งออกเป็น 5 ระดับ
1. ผู้บริหารระบบ (System Manager)
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
ศึกษาหาแนวทางแก้ไขปัญหา วางแผนและออกแบบระบบ
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
เขียนและสร้างงานโปรแกรมเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์
4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่อง (Computer Operator)
ติดตั้งโปรแกรม ควบคุมและบริการทำงาน และบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
5. พนักงานข้อมูล (Data Entry Operator)
บันทึกข้อมูลลงในคอมพิวเตร์ตามที่โปรแกรมกำหนด อาจจะเป็นผู้ใช้โปรแกรมก็ได้
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คือภาคปฏิบัติของระบบสารสนเทศ
1. รวบรวมข้อมูล
เป็นการนำข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาจัดแบ่งเป็นหมวดหมู่
2. ประมวลผล
เป็นการนำข้อมูลที่รวบรวมมาตรวจสอบความถูกต้อง
3. สารสนเทศ
เป็นการนำข้อมูลมี่ประมวลผลแล้วมาสรุปเป็นผลลัพธ์
ขั้นตอนการเพื่อให้เกิดสารสนเทศ
จัดทำรายงาน (Report)
คำนวณ (Calculate)
จัดเรียงข้อมูล (Sorting)
เข้ารหัสข้อมูล (Coding)
จัดเก็บ
ตรวจสอบ (Check)
ทำสำเนา
รวบรวมข้อมูล (Data collection)
แจกจ่ายและสื่อสารข้อมูล
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
เครื่องคอมพิวเตอร์และองคืประกอบต่างๆซึ่งแบ่งเป็นการทำงานของหน่วยต่างๆได้แก่ หน่วยรับเข้า, หน่วยประมวณผลกลาง, หน่วยความจำ และหน่วยส่งออก
หน่วยรับเข้า (Input unit)
ทำหน้าที่รับข้อมูลเข้าในระบบ
เมาส์
คีย์บอรด์
ไมโครโฟน
กล้องเว็บแคม
สแกนเนอร์
เครื่องอ่านลายนิ้วมือ
เครื่องสแกนใบหน้า
หน่วยประมวณผลกลาง (Central Processing unit)
ทำหน้าที่ประมวณผลข้อมูลตามชุดคำสั่งที่ซอฟต์แวร์ส่งมา
เปรียบเสมือนสมองของระบบคอมพิวเตอร์
ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของระบบ
ทำงานตามกระบวนการคณิตศาสตร์และเปรียบเทียบ
หน่วยความจำ (Memory unit)
แบ่งออกเป็นสองประเภท
หน่วยความจำหลัก (Main storage)
Rom
จัดเป็นสื่อจัดเก็บข้อมูลแบบไม่ลบเลือน ซึ่งไม่ต้องใช้แหล่งพลังงานในการเก็บขอ้มูล
Ram
คือฮาร์ดแวร์ในคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว แต่จะมีข้อเสียตรงที่ว่าข้อมูลจะหายไปเมื่อปิดคอมพิวเตอร์ แต่เมื่อรีบูทระบบปฏิบัติการเรียบร้อยข้อมูลจะกลับมาอีกครั้ง
หน่วยความจำรอง (Secondary storage)
HDD
Flash Drive
หน่วยแสดงผล (Output unit)
ทำหน้าที่แสดงผลข้อมูล
จอภาพ
ลำโพง
เครื่องพิมพ์
โปรเจอกเตอร์
ซอฟท์แวร์ (Software)
เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นตามจุดประสงค์ของการใช้งาน
ซอฟท์แวร์ระบบ (System software)
เป็นซอฟท์แวร์ที่พัมนาขึ้นมาเพื่อใช้ควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating system)
เป็นโปรแกรมที่จัดการให้คอมพิวเตอร์ติดต่อกับฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่นๆที่ติดตั้งไว้ในระบบเใื่อเปิดเครื่อง
ข้อดี
มีความเสี่ยงเรื่องมัลแวร์ต่ำ
ใช้งานง่าย เนื่องติดต่อกับผู้ใช้งานด้วยภาพหรือสัญลักษณ์
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานไม่จำเป็นต้องมีความต้องการด้านระบบสูง
ข้อเสีย
มีฮาร์ดแวรืและซอฟท์แวร์ให้เลือกใช้งานจำกัด
มีความเสี่ยงเรื่องมัลแวร์มากกว่าระบบปฏิบัติการอันอื่นๆ
การใช้งานค่อนข้างซับซ้อนสำหรับผู้ใช้งานทั่วไป
โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility program)
เป็นซอฟท์แวร์ที่ทำหน้าที่เฉพาะทางเพื่อจัดการงานพื้นฐานและบริหารต่างๆ รวมทั้งสามารถใช้จัดกับฮาร์ดแวร์โดยตรงได้อีกด้วย
โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับปฏิบัติการ
เป็นโปรแกรมที่ติดตั้งมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว ซึ่งช่วยอำนวยความสดวกในการทำงานร่วมกับอาร์ดแวร์
โปรแกรมจัดการไฟล์
โปรแกรมยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม
โปรแกรมสแกนดิสก์
โปรแกรมจัดเรียงพื้นที่จัดเก็บข้อมูลของฮาร์ดดิสก์
โปรแกรมรักษาหน้าจอ
โปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ
เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอรืทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โปรแกรมบีบอัดไฟล์
โปรแกรมไฟร์วอลล์
โปรแกรมป้องกันไวรัส
ซอฟท์แวร์ประยุกต์ (Application software)
เป็นซอฟท์แวร์ที่มีผู้พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ทำงานเฉพาะทาง
แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
ซอฟท์แวร์เชิงภาณิชย์
ฟรีแวร์
แชร์แวร์
โอเพนซอร์ส
โปรแกรมประยุกต์ที่นิยมใช้กันทั่วไป
ส่วนใหญ่มักจะเป็นโปรแกรมสำนักงาน ซึ่งคือโปรแกรมจัดเก็บเอกสารและการคำนวณงานในสำนักงาน
โปรแกรมประมวณผลคำ
โปรแกรมตารางคำนวณ
โปรแกรมฐานข้อมูล
โปรแกรมนำเสนอ
โปรแกรมประชุมออนไลน์
โปรแกรมค้นดูเว็บ
ซอฟท์แวร์สำเร็จ
เป็นซอฟท์แวร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้เแพาะงาน มีลิขสิทธิ์ของผู้พัฒนา
ระบบคลาวด์ (Cloud computing)
คือระบบที่จัดข้อมูลขนาดใหญ่ของผู้ให้บริการ ซึ่งจะเชื่อมต่อผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ให้บริการรับฝากข้อมูล
ข้อมูล
เป็นข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งที่อยู่ในรูปของข้อความ
ปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ
ข้อมูลปฐมภูมิ
คือข้อมูลที่รวบรวมมาจากแหล่งข้อมูลโดยตรง
ข้อมูลทุติยภูมิ
คือข้อมูลที่มี่ผู้รวบรวมไว้ก่อนหน้าแล้ว
แบ่งข้อมูลจามเงื่อนไขในการรับเข้า
ข้อมูลตัวอักขระ
ข้อมูลที่นำมาใช้คำนวณไม่ได้
ข้อมูลตัวเลข
เป็นข้อมูลที่นำมาคำนวณได้
ข้อมูลภาพ
รูปภาพชนิดต่างๆ
ข้อมูลวิดีทัศน์
ภาพยนตร์ ภาพเคลื่อนไหว
ข้อมูลเสียง
เสียงบรรยาย เสียงประกอบ
ด.ญ.ธรีรัตน์ สุมิตร ม.2/352 #15
ด.ญ.พิมพิดา เลิศไพรวัน ม.2/352 #24