Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร, image,…
องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
หมายถึง
เครื่องคอมพิวเตอร์และองค์ประกอบต่างๆ
แบ่งเป็นหน่วยการทำงานต่างๆ ได้แก่
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU)
เปรียบเสมือนสมองของระบบคอมพิวเตอร์
ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของระบบ
คำนวณตามกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเปรียบเทียบ
ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลตามชุดคำสั่งที่ software ส่งมา
หน่วยความจำ (Memory Unit)
หน่วยความจำหลัก (Main storage)
RAM
หน่วยความจำชั่วคราว
แบ่งออกเป็น 4 ส่วน
Working Storage Area
เก็บข้อมูลระหว่างประมวลผล
Output Storage Area
เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล
Input Storage Area
เก็บข้อมูลนำเข้าเพื่อรอประมวลผล
Program Storage Area
เก็บชุดคำสั่ง
เพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์ปฏิบัติตาม
ขยายความจุได้มาก
เมื่อไม่มีกระแสไฟฟ้ามาเลี้ยง
ข้อมูลก็จะหายไป
ROM
เป็นหน่วยความจำถาวร
ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
ไม่ต้องมีกระแสไฟฟ้ามาเลี้ยง
เก็บข้อมูลที่สำคัญเอาไว้
หน่วยความจำรอง (Secondary storage)
Flash Drive
HDD
หน่วยแสดงผล (Output Unit)
ทำหน้าที่แสดงผลข้อมูล
จอภาพ
ลำโพง
เครื่องพิมพ์(Printer)
โปรเจคเตอร์
หน่วยรับเข้า (Input Unit)
ทำหน้าที่รับข้อมูลเข้าในระบบ
คีย์บอร์ด
ไมโครโฟน
เมาส์
สแกนเนอร์
กล้องเว็บแคม
เครื่องอ่านลายนิ้วมือ
เครื่องสแกนใบหน้า
ข้อมูล
หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่ง
ภาพ เสียง ภาพยนตร์ วิดิทัศน์
แบ่งโดยใช้แหล่งข้อมูลเป็นเกณฑ์
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data)
ข้อมูลที่รวบรวมจากแหล่งข้อมูลโดยตรง
การจดบันทึก การสำรวจ การสอบถาม การอ่านรหัสแท่งของเครื่องเก็บเงิน การประสบพบเห็นด้วยตนเอง การทดสอบ การวัด
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data)
ข้อมูลที่มีผู้รวบรวมไว้ก่อนหน้าแล้ว สามารถนำไปใช้ได้ทันที
สถิติจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน การถามผู้อื่น เอกสาร
แบ่งโดยใช้เงื่อนไขในการรับเข้า (Input) เป็นเกณฑ์
ข้อมูลตัวอักขระ (Character data)
ข้อมูลที่ใช้คำนวณไม่ได้
ข้อมูลตัวเลข (Numeric data)
ข้อมูลที่นำมาคำนวณได้
ข้อมูลภาพ (Image data)
รูปภาพชนิดต่าง ๆ
ข้อมูลวีดิทัศน์ (Video)
ภาพยนตร์ ภาพเคลื่อนไหว
ข้อมูลเสียง (Audio)
เสียงบรรยาย เสียงประกอบ
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
(People ware)
หมายถึง ผู้ที่ปฏิบัติงานในด้านคอมพิวเตอร์ ควบคุมดูแลระบบให้ทำงานได้ตลอดเวลาในระบบสาระสนเทศ
แบ่งออกเป็น 5 ระบบ
โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
ทำหน้าที่เขียนและสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
ทำหน้าที่ออกแบบและวางแผนระบบ โดยศึกษาปัญหา ความคุ้มค่า ความต้องการขององค์กร เพื่อแก้ไขปรับปรุงงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด
พนักงานข้อมูล (Data Entry Operator)
ทำหน้าที่บันทึกข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ตามที่โปรแกรมกำหนด หรือผู้ใช้โปรแกรม (User)
ผู้บริหารระบบ (System Manager)
เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่อง (Computer Operator)
ทำหน้าที่ติดตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ควบคุม ให้บริการด้านการใช้งาน และบำรุงรักษา
ซอฟต์แวร์(software)
หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาตามจุดประสงค์ ถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์
(Application Software)
ซอฟต์แวร์สำเร็จ(package software)
เป็นโปรแกรมที่พัฒนาเพื่อใช้เฉพาะงาน
มีลิขสิทธิ์ของผู้พัฒนา
เช่น โปรแกรมบัญชี
โปรแกรมออกแบบชิ้นงาน โปรแกรมสร้างภาพ
โปรแกรมบันทึกเวลา ทำงานและคิดค่าจ้างในเครื่องลงเวลาต่างๆ
โปรแกรมประยุกต์ที่นิยมใช้กันทั่วไป
(general purpose software)
โปรแกรมประยุกต์ที่นิยมใช้กันทั่วไป ส่วนใหญ่เป็นโปรแกรมสำนักงาน ซึ่งก็คือโปรแกรมจัดการกับเอกสารและการคำนวณงานในสำนักงาน
โปรแกรมประมวลผลคำ
โปรแกรมตารางคำนวณ
โปรแกรมค้นดูเว็บ(Web browser)
โปรแกรมฐานข้อมูล
โปรแกรมประชุมออนไลน์
โปรแกรมนำเสนอ
เป็นซอฟต์แวร์ที่มีผู้พัฒนาขึ้น
เพื่อใช้ทำงานเฉพาะทาง
แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ได้แก่
แชร์แวร์(Shareware)
ฟรีแวร์(Freeware)
ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์(Commercial ware)
โอเพนซอร์ส(Open-source)
1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
[เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์]
1.2.โปรแกรมระบบปฏิบัติการ
(Operating system)
เป็นโปรแกรมที่จัดการให้คอมพิวเตอร์ติดต่อกับฮาร์ดแวร์และโปรแกรมประยุกต์อื่นๆที่ติดตั้งไว้ในระบบ
ตัวอย่างโปรแกรมระบบโปรแกรมปฏิบัติการ
และข้อดี-ข้อเสีย
ระบบปฏิบัติการลินุกซ์
(ใช้กับเครื่องพีซี ส่วนใหญ่ใช้กับเครื่องบริการ)
ข้อดี : เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานไม่จำเป็น
ต้องมีความต้องการด้านระบบสูง
ข้อเสีย : การใช้งานค่อนข้างซับซ้อนสำหรับผูู้ใช้งานทั่วไป
ระบบปฏิบัติการวินโดวส์
(ของบริษัทไมโครซอฟต์ ใช้กับเครื่องพีซี)
ข้อดี : ใช้งานง่าย เนื่องจากใช้การติดต่อกับผู้ใช้งานด้วยภาพและสัญลักษณ์
ข้อเสีย : มีความเสี่ยงเรื่องมัลแวร์มากที่สุด
ระบบปฏิบัติการ Mac OS
(ของบริษัทแอปเปิ้ล)
ข้อดี : มีความเสี่ยงเรื่องมัลแวร์ต่ำ
ข้อเสีย : มีฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้งานจำกัด
1.1.โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เฉพาะอย่างส่วนใหญ่จะถูกรวมอยู่ในระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว
สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับระบบปฏิบัติการ
(OS utility programs)
เป็นโปรแกรมที่ติดตั้งมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว
ซึ่งช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงานร่วมกับฮาร์ดแวร์
โปรแกรมจัดการไฟล์
โปรแกรมยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม
โปรแกรมสแกนดิสก์
โปรแกรมจัดการพื้นที่จัดเก็บข้อมูลของฮาร์ดดิสก์
โปรแกรมรักษาหน้าจอ
โปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ
(Standalone utility programs)
ไฟร์วอลล์
โปรแกรมป้องกันไวรัส
โปรแกรมบีบอัดไฟล์
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
หมายถึง ภาคปฏิบัติของระบบสารสนเทศ ซึ่งเริ่มจากการเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ เก็บรวบรวมข้อมูลนำข้อมูลมาผ่าน กระบวนการประมวลผลและจัดเก็บ เพื่อใช้งานต่อไป
ประกอบด้วย
รวบรวมข้อมูล
นำข้อมูลจากแหล่งต่างๆที่เกี่ยวข้องมาจัดแบ่งเป็นหมวดหมู่
ประมวลผล
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
สารสนเทศ
สรุปเป็นผลลัพธ์
ขั้นตอนการดำเนินการเพื่อให้เกิดสารสนเทศข้ึนมา
รวบรวมข้อมูล (Data collection)
ตรวจสอบ (Check)
เข้ารหัสข้อมูล (Coding)
จัดเรียงข้อมูล (Sorting)
คำนวณ (Calculate)
แจกจ่ายและสื่อสารข้อมูล
จัดทำรายงาน (Report)
ทำสำเนา
จัดเก็บ
เทคโนโลยีการสื่อสาร
หมายถึง การสื่อสารทางคอมพิวเตอร์และสมารต์โฟน
เครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อถึงกัน เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต
เชื่อมต่อกับสัญญาณ
วายฟาย (WiFi)
บริเวณที่มีสัญญาณวายฟายเรียกว่า ฮอตสปอร์ต (Hotspot)
สมาร์ตโฟนที่ใช้บริการ 3G 4G 5G และ 6G สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้โดยไม่ต้องใช้สัญญาณวายฟาย
สายแลน (LAN: Local Area Network)
เป็นระบบสายนำสัญญาณ
รูปแบบการสื่อสาร เช่น การพูดคุยออนไลน์ การส่งภาพ ส่งข้อมูลต่างๆ ส่งอีเมล
อุปกรณ์ต่างๆ และผู้ให้บริการ
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP: Internet service provider)
ให้บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
บางบริษัทให้บริการความเร็วสูงด้วย (ADSL)
สายนำสัญญาณอินเทอร์เน็ต
เป็นสายนำสัญญาความเร็วสูง
ปัจจุบันนิยมใช้ สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic)
ใช้สัญญาณแสงแทนไฟฟ้า
ไม่ถูกรบกวนโดยสนามแม่เหล็กไฟฟ้าต่างๆ
ส่งสัญญาณได้ไกล
ปลอดภัยจากการโจรกรรมข้อมูล เพราะยากที่จะดักจับข้อมูลระหว่างทาง
เป็นฉนวนไฟฟ้า จึงไม่เกิดการลัดวงจร
ทำจากวัสดุที่ไม่ลามไฟ
เราท์เตอร์ (Router)
เป็นอุปกรณ์จัดเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูล
เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตและหาเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลที่เร็วที่สุด
แจกไอพีแอดเดรสไปยังผู้ใช้แต่ละเครื่อง
ฮับ (Hub)
เป็นอุปกรณ์เชื่อมต่อสัญญาณไปยังเครื่องอื่นๆ เพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกัน
หากติดตั้งสัญญาณจากช่องต่อของเราท์เตอรืเข้าที่ช่องทางออกของฮับ จะทำให้สามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้ทุกเครื่องที่ต่อสัญญาณเข้ามา
สายสัญญาณ
สายที่ใช้เชื่อมต่อในระบบแลนเป็นสายที่มีสี่คู่ บิดกันเป็นเกลียว เรียกว่า สายคู่บิดเกลียว
UTP
STP
ด.ญ.ชาลิสา อัตต์สินทอง ม.2/526 เลขที่ 11
ด.ญ.พิชามญชุ์ ตันติโรจนาเมธ ม.2/526 เลขที่ 29