Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร,…
องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร
2. ซอฟต์แวร์
2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ
เป็นโปรแกรมที่จัดการให้คอมพิวเตอร์ต่อกับฮาร์ดแวร์ต่างๆ และโปรแกรมประยุกต์อื่นๆ ที่ติดตั้งไว้ในระบบเวลาเปิดเครื่อง
ระบบปฏิบัติงานชนิดต่างๆ
Android
ใช้กับแท็บเล็ทและสมาร์ทโฟน
Linux
ใช้กับพีซี (ส่วนมากใช้กับเครื่องบริการ)
ข้อดี
คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานไม่จำเป็นต้องมีความต้องการด้านระบบสูง
ข้อเสีย
การใช้งานค่อนข้างซับซ้อนสำหรับบุคคลทั่วไป
Mac Os
เป็นของบริษัทแแอปเปิ้ล ใช้ได้กับเครื่องแอปเปิ้ลเท่านั้น
ข้อดี
ความเสี่ยงมัลแวร์ต่ำ
ข้อเสีย
ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์มีใช้ได้จำกัด
Window
เป็นของบริษัทไมโครซอฟต์ ใชกับพีซี
ข้อดี
ใช้งานง่าย
ข้อเสีย
ความเสี่ยงเรื่องมัลแวร์สูงกว่าระบบอื่นๆ
โปรแกรมอรรถประโยชน์
โปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ
โปรแกรมที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่าง
โปรแกรมไฟร์วอลล์ (Firewall)
โปรแกรมป้องกันไวรัส (Anti virus program)
โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (File compression utility)
โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับระบบปฏิบัตืการ
โปรแกรมที่ติดตั้งมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการ ช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงานกับฮาร์ดแวร์
ตัวอย่าง
โปรแกรมจัดการไฟล์ (File manager)
โปรแกรมยกเลิกการติดต้งัโปรแกรม (Uninstaller)
โปรแกรมสแกนดิสก์ (Disk scanner)
คือซอฟต์แวร์ที่พัฒนามาเพื่อควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์
2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ซอฟต์แวร์ที่มีผู้พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้งานเฉพาะทางต่างๆ เช่น เชิงพานิชย์ ฟรีแวร์ แชร์แวร์ โอเพนซอร์ส
โปรแกรมประยุกต์ที่นิยมใช้กันทั่วไป
โปรแกรมประยุกต์ที่นิยมใช้กันทั่วไปส่วนใหญ่มักจะเป็นโปรแกรมสำนักงาน
ตัวอย่าง
โปรแกรมตารางคำนวณ
โปรแกรมฐานข้อมูล
โปรแกรมนำเสนอ
ซอฟต์แวร์สำเร็จ
เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะงาน มีลิขสิทธิ์ของผู้พัฒนา
ตัวอย่าง
โปรแกรมบัญชี
โปรแกรมออกแบบชิ้นงาน
โปรแกรมบันทึกเวลา
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
เป็นภาคปฏิบัติของระบบสารสนเทศ เริ่มจากการเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ เก็บรวบรวมข้อมูล นำมาประมวลผล และ จัดเก็บใช้งานต่อไป
5.1 รวบรวมข้อมูล
นำข้อมูลจากแหล่งต่างๆ มาจัดแบ่งเป็นหมวดหมู่
5.2 ประมวลผล
การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
5.3 สารสนเทศ
การนำข้อมูลที่ประมวลผล มาสรุปเป็นผลลัพธ์ เพื่อให้เกิดสารสนเทศ
ขั้นตอนของสารสนเทศ
คำนวณ
จัดทำรายงาน
จัดเรียงข้อมูล
จัดเก็บ
เข้ารหัสข้อมูล
ทำสำเนา
ตรวจสอบ
แจกจ่าย
รวบรวมข้อมูล
6. เทคโนโลยีการสื่อสาร
6.1 ผู้บริการอินเตอร์เน็ต
6.3 เราท์เตอร์
เป็นอุปกรณ์จัดหาเส้นทางในการส่งข้อมูล เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต และ หาเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลเร็วที่สุด
6.4 ฮับ
เป็นอุปกรณ์เชื่อมต่อสัญญาณไปยังเครื่องอื่นๆ
6.5 สายนำสัญญาณ
สายที่เชื่อมต่อในระบบแลนเป็นสายมีสี่คู่ บิดกันเป็นเกลียว เรียกว่า สายคู่บิดเกลียว
6.2 สายนำสัญญาณอินเตอร์เน็ต
เป็นสายนำสัญญาณความสูง ในปัจจุบันนิยมใช้สายใยแก้วนำแสงใช้สัญญาณแสง แทนการใช้ไฟฟ้า ทำให้มีความเร็วสูง และ ไม่สามารถถูกก่อกวนได้
1. ฮาร์ดแวร์
คือเครื่องคอมพิวเตอร์/องค์ประกอบ ทั้งภายในและภายนอก ของคอมพิวเตอร์
1.1 หน่วยรับเข้า
ทำหน้าที่รับข้อมูล
เข้าในระบบ
ตัวอย่าง
ไมโครโฟน
กล้องเว็บแคม
คีย์บอร์ด
สแกนเนอร์
เมาส์
1.2 หน่วยประมวลผลกลาง
เปรียบเสมือนสมองของ
ระบบคอมพิวเตอร์
ทำหน้าที่ควบคุมการทำงาน
ของระบบ
ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลตามชุดคำสั่งที่ซอฟต์แวร์ส่งมา
คำนวณตามกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และ เปรียบเทียบ
1.3 หน่วยความจำ
หน่วยความจำหลัก (main storage)
ROM
เป็นหน่วยความจำที่ไม่ใช้ไฟฟ้าของคอมพิวเตอร์ โดยไม่สามารถแก้ไขได้
RAM
เป็นหน่วนยความจำชั่วคราวที่ใช้ไฟฟ้า หากไม่มีไฟฟ้าความจำทั้งหมดจะสูญหายทันที สามารถขยายขนาดความจุได้ง่าย
หน่วยความจำสำรอง (secondary storage)
ตัวอย่าง
HDD
Flashdrive
1.4 หน่วยแสดงผล
ทำหน้าที่แสดงผลข้อมูล
ตัวอย่าง
เครื่องพิมพ์
ลำโพง
จอภาพ
4. ข้อมูล
เป็นข้อเท็จจริง หรือ เหตุการณ์ที่เกิดในช่วงเวลานั้นๆ ในรูปของข้อความ ตัวเลข สัญลักษณ์ ฯลฯ
แบ่งตามเงื่อนไขการรับเข้า
ข้อมูลอักขระ (Character Data)
ข้อมูลที่คำนวณไม่ได้
ข้อมูลตัวเลข (Numeric Data)
ข้อมูลที่คำนวณได้
ข้อมูลภาพ (Picture Data)
รูปภาพต่างๆ
ข้อมูลเสียง (Audio)
เสียงบรรยาย
ข้อมูลวีดิทัศน์ (Video)
ภาพเคลื่อนไหว
แบ่งตามลักษณะข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ(Primary Data)
ข้อมูลที่บันทึกโดนตรงจากเหตุการณืนั้นๆ
ตัวอย่าง
ข้อมูลจากการสำรวจ
ข้อมูลจากการจดบันทึก
ข้อมูลทุติยภูมิ(Secondary Data)
ข้อมูลที่มีผู้บันทึกมาก่อนแล้ว
ตัวอย่าง
สถิติของหน่วยงานต่างๆ
ข้อมูลจากเอกสาร
3. บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
3.3 โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
ทำหน้าที่เขียนโปรแกรม ด้วย ภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อสั่งการคอมพิวเตอร์
3.4 เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่อง (Computer Operator)
ทำหน้าที่ติดตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และให้บริการด้านต่างๆ เช่น ควบคุมการทำงาน
3.2 นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis)
ทำหน้าที่ศึกษาปัญหา ความต้องการ ของ องค์กร ออกแบบระบบสาระสนเทศขึ้นใหม่
3.5 พนักงานข้อมูล (Data Entry Operator)
ทำหน้าที่บันทึกข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ตามโปรแกรมที่กำหนด
3.1 ผู้บรหารระบบ (System Manager)
ด.ญ.ภัคธีมา วชิรธนากร 2/526 เลขที่ 31 ด.ช.อติชา ปราณีโชติรส 2/526 เลขที่ 47