Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร, ด.ญ…
องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ ( People ware ) หมายถึง ผู้ที่ปฏิบัติงานในด้านคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ควบคุมดูแลระบบให้ทำงานได้ตลอดเวลา ในระบบสารสนเทศ แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้
1). ผู้บริหารระบบ ( System Manager )
2). นักวิเคราะห์ระบบ ( Stystem Analyst ) ทำหน้าที่ศึกษาและความต้องการขององค์กร ความคุ้มค่า วางแผน ออกแบบระบบ สร้างสารสนเทศขึ้นมาฝหม่ตลอดจนคู่มือการใช้งสน และหาแนวทางแก้ไขปัญหาปรับปรุงงานให้เกิดประโยชน์แก่องค์กร
3). โปรแกรมเมอร์ ( Programmer ) ทำหน้าที่ เขียนและสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อสั่งการให้คอมพิวเตอร์ทำงานจนได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
4). เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่อง ( Computer Operator ) ทำหน้าที่ ติดตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ให้บริการด้านการใช้งาน ควบคุมการทำงาน และ บำรุงรักษา
5). พนักงานข้อมูล ( Data Entry Operator ) ทำหน้าที่ บันทึกข้อทูลลงในคอมพิวเตอร์ตามที่โปรแกรมกำหนด หรือเป็นผู้ใช้โปรแกรมธรรมดาก็ได้ ( USER )
ฮาร์ดแวร์
CPU unit
ทำหน้าที่
ประมวลผลข้อมูลตามชุดคำสั่งที่ซอฟแวร์ส่งมา
เปรียบเสมือนสมองของระบบคอมพิวเตอร์
ควบคุมการทำงานของระบบ
memory unit
หน่วยความทรงจำหลัก
หน่วยความทรงจำรอง
output unit
ทำหน้าที่แสดงผลข้อมูล
จอภาพ ลำโพง เครื่องพิมพ์โปรเจ็กเตอร์
หน่วยรับเข้า (input unit)
ทำหน้าที่รับข้อมูลเข้าในระบบ
เมาส์
คีย์บอร์ด
ไมโครโฟน
กล้องเว็บแคม
สแกนเนอร์
เครื่องอ่านลายนิ้วมือ
เครื่องสแกนใบหน้า
ความหมาย
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์และองค์ประกอบต่าง ๆ ซึ่งแบ่งการท างานเป็นหน่วยต่าง ๆ ได้แก่ หน่วยรับเข้า หน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยส่งออก และองค์ประกอบภายนอกที่สนับสนุนระบบสารสนเทศ เช่น ระบบสื่อสาร เครื่องพิมพ์ เครื่องกราดภาพ กล้องดิจิทัล ไมโครโฟน
เทคโนโลยีการสื่อสาร หมายถึง การสื่อสารทางคอมพิวเตอร์และสมาร์ทโฟน เช่น การพูดคุยทางออนไลน์ การส่งข้อมูลต่างๆซึ่งจะต้องมีเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อถึงกันเช่น คอมพิวเตอร์สมาร์ทโฟน สามารถใช้บริการวายฟาย ( WiFi ) บริเวณที่มีสัญญาณวายฟายเรียกว่า ฮอตสปอร์ต ( Hotspot ) ซึ่งนอกจากสัญญาณวายฟายยังเชื่อมต่อผ่านระบบนำสัญญาณที่เรีบกว่า สายแลน ( LAN : Local Area Network ) และเรายังสามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้โดยไม่ต้องใช้วายฟาย การเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตต้องมีอุปกรณ์ต่างๆและผู้ให้บริการ ดังนี้
1). ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต เรียกว่า ไอเอสพี ( ISP:Internet sevice provider ) คือ ให้บริการเครื่อข่ายอินเทอร์เน็ต
2). สายนำสัญญาณอินเทอร์เน็ต คือ สานนำสัญญาณความเร็วสูง
ปัจจุบันนิยมใช้ สายใยแก้วนำแสง ( Fiber Optic ) จะใช้สัญญาณแสงแทนการส่งสัญญาณด้วยไฟฟ้า ทำให้ในการส่งสัญญาณจะไม่ถูกรบกวนจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ส่งสัญญษณได้ไกล การส่งผ่านข้อมูลจะใช้แสงเป็นตัวนำจึงยากที่จะดักจับข้อมูลระหว่างทาง ไม่มีการนำกระแสไฟฟ้าไม่เกิดการลัดวงจรและไม่ลามไฟ
3). เราท์เทอร์ ( Router ) คือ อุปกรณ์จัดเส้นทางในการส่งข้อมูล เชื่อต่อกับอินเทอร์เน็ตและหาเส้นทางในการส่งข้อมูลให้เร็วที่สุด เป็นตัวแจกพีแอดเดรสไปยังผู้ใช้แต่ละเครื่อง
4). ฮับ ( Hab ) คือ อุปกรณ์เชื่อมต่อสัญญาณไปยังเครื่องอื่นๆ เพื่อทรัพยากรร่วมกัน แค่ติดตั้งสัญญาณจากช่องต่อของเราท์เตอร์เข้าที่ช่องทางของฮับ จะทำให้สามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้ทุกเครื่องที่ต่อสัญญาณเข้ามา
5). สายนำสัญญาณ คือสายที่ใช้เชื่อมต่อในระบบสายแลนเป็นสายที่มีสี่คู่ บิดกันเป็นเกลียว เรีกว่า สายคู่บิดเกลียว มีสองชนิด ได้แก่ UTP และ STP
"ขึ้นตอนการปฎิบัติงาน" หมายถึง ภาคปฏิบัติของระบบสารสนเทศ ซึ่งเริ่มจากการเตรียมอุปกรณ์ต่างๆเก็บรวบรวมข้อมูล นำข้อมูลมาผ่านกระบวนการประมวลผลและจัดเก็บ เพื่อใช้งานต่อไป
1). รวบรวมข้อมูล คือ การนำข้อมูลจากแหล่งต่างๆที่เกี่ยวข้องมาจัดแบ่งเป็นหมวดหมู่
2). ประมวลผล คือ การนำข้อมูลทั้งหมดที่รวบรวมไว้มาตรวจสอบความถูกต้อง
3). สารสนเทศ คือ เป็นการนำข้อมูล
ที่ประมวลผลแล้วมาสรุปเป็นผลลัพธ์
ขั้นตอนการดำเนินการเพื่อให้เกิดสารสนเทศ มีดังนี้
รวบรวมข้อมูล ( Data collection )
คำนวณ ( Calculate )
ตรวจสอบ ( Check )
จัดทำรายงาน ( Report )
เข้ารหัสข้อมูล ( Coding )
จัดเรียงข้อมูล ( Sorting )
จัดเก็บ
ทำสำเนา
แจกจ่ายและสื่อสารข้อมูล
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นตามจุดประสงค์ของการใช้งาน
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ใช้ทำงานต่าง ๆ เช่น Microsoft Office
ซอฟต์แวร์เชิงพาณิช
ฟรีแวร์
แชร์แวร์
โอเพนซอร์ส
โปรแกรมประมวลผลคำ
โปรแกรมคำนวณตาราง
โปรแกรมฐานข้อมูล
โปรแกรมนำเสนอ
โปรแกรมประชุมออนไลน์
โปรแกรมค้นดูเว็บ
ซอฟต์แวร์สำเร็จ
เป็นโปรแกรมที่เขียน
เพื่อใช้งานเฉพาะทาง
มีลิขสิทธิ์ของผู้พัฒนา
โปรแกรมออกแบบชิ้นงาน
โปรแกรมสร้างภาพ
โปรแกรมบัญชี
โปรแกรมบันทึกเวลาทำงาน
ซอฟต์แวร์ระบบ
ใช้ควบคุมฮาร์ดแวร์ เรียกว่า รับส่งฐานข้อมูลพื้นฐาน หรือ ไบออส (Basic Input Output System) บันทึกในชิปชนิดซีมอส เรียกว่า เฟิร์มแวร์
โปรแกรมอรรถประโยชน์
สำหรับระบบปฏิบัติการ
โปรแกรมรักษาหน้าจอ
โปรแกรมจัดเรียงพื้นที่เก็บข้อมูล
โปรแกรมสแกนดิสก์
โปรแกรมยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม
โปรแกรมจัดการไฟล์
โปรแกรมอื่น ๆ ที่ช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โปรแกรมป้องกันไวรัส
โปรแกรมไฟร์วอลล
โปรแกรมบีบอัดไฟล์ :
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ
ข่้อมูล
ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่ง
ตัวเลข
เสียง
วีดีทัศน์
ตัวอักขระ
ภาพ
ข้อมูลทุติยภูมิ มีผู้รวบรวมไว้ก่อนหน้าแล้ว
ข้อมูลปฐมภูมิ
ได้จากแหล่งข้อมูลโดยตรง
ด.ญ.พชรอร พวงเพชร ม.2/526 เลขที่ 27
ด.ญ.กุมดี พงศ์หรรษา ม.2/526 เลขที่ 6
ซอฟต์แวร์