Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา : ผู้ป่วยเพศหญิง อายุ 56 ปี - Coggle Diagram
กรณีศึกษา : ผู้ป่วยเพศหญิง อายุ 56 ปี
CC : ปากเบี้ยว พูดไม่ชัด แขนขาซีกซ้ายอ่อนแรงก่อนมาโรงพยาบาล 1ชั่วโมง
PI : หลังตื่นนอนขณะลุกเดินเข้าห้องน้ำ ปวดศีรษะ ปากเบี้ยวด้านซ้าย ชา แขนขาซีกซ้ายอ่อนแรง เดินล้ม ศีรษะไม่กระแทกพื้น ญาตินำส่งโรงพยาบาลโดยรถส่วนตัว
PH: ป่วยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมา 5 ปี รักษาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลใกล้บ้าน รับประทานยาไม่ต่อเนื่อง ขาดยามา 1 ปี
ชนิดและพยาธิสภาพ ของโรคหลอดเลือดสมอง
หลอดเลือดอุดตันหรือตีบตัน
(Ischemic stroke )
เลือดไปเลี้ยงสมองลดลง ความดันออกซิเจนลดลง ความดันคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น มีการคั่งของกรดแล็คติก ATP
เซลล์ประสาทขาดเลือดไปเลี้ยง ความจำความรู้สึกตัวลดลง การเคลื่อนไหวประสาทสัมผัสและการทำหน้าที่ของระบบประสาทอัตโนมัติสูญเสยหน้าที่
สมองตาย
(brain infraction)
การแตกของหลอดเลือด
(Ihemorrhagic stroke )
ผนังหลอดเลือดแดงโป่งพอง (aneurysm)
ผนังหลอดเลือดอ่อนแอและแตกออก
เลือดออกในชั้น subarachnoid และ ventricle
กระตุ้น
ประสาทอัตโนมัติ
หลอดเลือดหดเกร็ง
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ความดันโลหิตสูง
เลือดออกซ้ำ(rebleeding)
สมองขาดเลือดและสมองตาย
ความดันโลหิตสูง (hypertension)
ผนังหลอดเลือดแข็ง/การยืดหยุ่นไม่ดี
ผนังหลอดเลือดแตกง่าย
เลือดออกในสมอง
เลือดแดงและเลือดดำไหลปนกัน (arteriovenous malformation,AVM)
หลอดเลือดแดงและหลอดดำขยายตัวและแตกออก
เลือดออกในชั้น subarachnoid และ ventricle
กดเนื้อเยื่อสมองหลอดเลือดเส้นประสาท
ความดันในกะโหลกศรีษะสูง (IICP)
สมองขาดเลือดและสมองตาย
ปัจจัยและสาเหตุที่ทำให้เกิดโรค
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ
โรคประจำตัว
เพศ
ปัจจัยด้านพฤติกรรมสุขภาพ
การหยุดรับประทาน ยานั้นจะเป็นผลเสียส่งผลทำให้ความดันโลหิตกลับสูงขึ้นมาอีก และอาจสูงมากจนหลอดเลือดในสมองแตก เกิดอัมพาตอัมพฤกษ์ตามมาได้
เปรียบเทียบอาการของโรคกับอาการและอาการแสดงของผู้ป่วย
อาการและอาการแสดของโรค
อาการอ่อนแรง หรือมีอาการอัมพฤกษ์ที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย โดยมากมักเกิดกับร่างกายข้างใดข้างหนึ่ง
อาการชาหรือสูญเสียความรู้สึกของร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่ง
มีปัญหาเกี่ยวกับการพูด เช่น พูดไม่ได้ พูดติดขัด เสียงไม่ชัด หรือไม่เข้าใจคำพูด
มีปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว เช่นเดินเซหรือมีอาการเวียนศีรษะ เฉียบพลัน
การสูญเสียการมองเห็นบางส่วน หรือเห็นภาพซ้อน
อาการและอาการแสดงของผู้ป่วย
ปากเบี้ยว
พูดไม่ชัด
ขนขาซีกซ้ายอ่อนแรง
แนวทางการรักษา
การรักษาด้วยยา
การให้ยาสลายลิ่มเลือด (rt-pa) ทางหลอดเลือดดำ : เป็นวิธีการรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันเฉียบพลันที่มีอาการไม่เกิน 4.5 ชั่วโมง
การรักษาที่ไม่ใช้ยา
การทำกายภาพบำบัด
ผลกระทบที่เกิดจากโรคและการรักษา
ระดับครอบครัว
จากภาวะพึ่งพิงผู้ดูแลที่สูง อาจทำให้ผู้ดูแลเกิดความเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย พักผ่อนไม่เพียงพอ ซึ่งทำให้ร่างกายเจ็บป่วยได้
ระดับสังคม
ฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูทำให้เกิดความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจในระดับประเทศ
อัมพาตหรือพิการ ไม่สามารถประกอบอาชีพได้และเป็นการเพิ่มภาระทางการเงินในด้านงบประมาณที่เกี่ยวกับการรักษา ยา อุปกรณ์ทางการแพทย์
สูญเสียในงบประมาณในการดูแลรักษาและการขาดแคลนทรัพยากรมนุษย์ในกรณีที่ผู้ป่วยอยู่ในวัยทำงาน
ระดับบุคคล
ปัญหาด้านจิตใจ วิตกกังวล เครียด หรือซึมเศร้า ซึ่งเป็นผลกระทบต่อเนื่องมาจากความบกพร่องทางด้านร่างกาย
ปัญหาทางด้านบุคลิกภาพ การสื่อสาร การควบคุม และการแสดงออกทางอารมณ์ไม่เหมาะสม อาจทำให้การเข้าสังคมมีปัญหา