Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการสร้าง Animation - Coggle Diagram
หลักการสร้าง Animation
1.ขั้นตอนการเตรียมงาน
การคิดเนื้อเรื่อง(Concept)
การเขียนเนื้อเรื่อง (development)
การเขียนต้นฉบับ (Script)
การวาด story บอร์ด (Storyboard)
การทำแอนิเมติก (Animatic)
การ Modeling Texturing
ขั้นตอนการผลิต(production)
การสร้างสิ่งแวดล้อม(Background)
การสร้างอนิเมะตัวละครตามกระดานภาพนิ่ง มีรายละเอียดดังนี้
การทำภาพเคลื่อนไหว
แอนิเมเตอร์จะนำโมเดลลิ่งตัวละครสามมิติทำให้เคลื่อนไหวตาม Story Reel เมื่อทำการเคลื่อนไหวเสร็จก็ต้องเก็บรายละเอียดต่างๆโปรแกรมในการสร้างได้แก่ โปรแกรม Adobe flash animation ,Adobe Photoshop,Adobe Illustrator
ขั้นตอนการเก็บงาน
การตัดต่อ
รวบรวมคลิปอนิเมชั่นเข้าด้วยกัน
ปรับแสงและสี
การออกแบบไตเติ้ลให้เหมาะสม
ให้เครดิตผู้จัดทำที่ทำการเลือกสื่อบันทึก
ทดสอบผลที่ได้จากการบันทึกก่อนนำไปเผยแพร่
Timing คือเวลาการเคลื่อนไหวในอนิเมชั่น
จะมีเรื่องเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น การเก้าทีละก้าว การก้าวแรกต่อเนื่องไปยังก้าวที่สองเพื่อให้ดูเป็นธรรมชาติ
จังหวะช้าและจังหวะเร็ว
จังหวะเป็นสิ่งสำคัญเพราะมันแสดงถึงความคิดและความรู้สึกของตัวละครว่าเขากำลังทำสิ่งต่างๆด้วยเหตุผลอย่างไร
Ease In Out หรือ Slow In and Out
การเคลื่อนไหวของร่างกายมนุษย์หรือวัตถุอื่นๆ
เกี่ยวข้องกับอัตราความเร็ว
เช่นเมื่อลูกบอลลอยขึ้นไปในอากาศช่วงแรกของการปล่อยลูกบอลจะมีอัตราความเร็วสูงสุด จากนั้นจะค่อยๆลดความเร็วจนเหลืออัตราความเร็วเป็นศูนย์เมื่อลูกบอลอยู่จุดสูงสุดจากนั้นก็จะตกลงมาด้วยแรงโน้มถ่วง
การเคลื่อนไหวในลักษณะวิถีโค้ง
การสร้างอนิเมะชั่นควรศึกษาเข้าใจรูปแบบการเคลื่อนไหวตามเส้นโค้งที่วัตถุจะทำให้การเคลื่อนที่ดูน่าสนใจไม่น่าเบื่อจะช่วยให้สมจริงมากขึ้น เช่น การเหวี่ยงแขน
Anticipation เป็นท่าเตรียม หรือท่าเริ่มต้น
บางครั้งการสร้างอนิเมชั่นจะให้ความสำคัญกับท่าเตรียมมากเพราะจะดึงดูดความสนใจและการติดตามของผู้ชมเช่นการง้างขามาด้านหลังก่อนที่จะเตะลูกบอล
ท่าเตรียม ทำให้ตัวละครมีลักษณะท่าทางที่ดูแล้วเป็นธรรมชาติ มักมีทิศทางตรงกันข้ามกับท่ารัก
Exaggeration เป็นการแสดงเกินจริงเพื่อสร้างอารมณ์ตัวละครให้มีชีวิตชีวา
เช่นการทำหน้าตกใจอ้าปากกว้างตัวลอย เพราะจะสร้างความรู้สึกร่วมให้กับผู้ชมได้ดี สื่อสารได้ชัดเจน
เช่นในฉากตัวละครเล่นเบสสบอลต้องขว้างลูกไปข้างหน้าเราอาจจะเพิ่มการเงื้อมลูกให้ดูเกินจริงจนตัวบิดหมุน
Squash and Stretch การหดยืดของวัตถุเช่นบอนยางเวลาโดนแรงอัดพื้นย่อมแบนลงและยืดขึ้นเมื่อเด้งออก
ในขณะที่ตัวละครเคลื่อนไหวร่างกายจะยืดหยุ่นไม่ขยับตัวแข็งๆแบบหุ่นยนต์
การเคลื่อนไหวต้องคำนึงถึงน้ำหนักและขนาด