Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ดนตรีตะวันตก - Coggle Diagram
ดนตรีตะวันตก
ยุครีเนซองค์(Renaissance Period)
ศตวรรษที่15-16 (ราวค.ศ.1450-1600)
การสอดประสาน(Polyphony)
มีการล้อกันของแนวทำนองเดียวกัน (Imitative
style)ลักษณะบันไดเสียงเป็นแบบโหมด(Modes)
ลักษณะของจังหวะมีทั้งเพลงแบบมีอัตราจังหวะและไม่มีอัตราจังหวะ
ลักษณะของเพลงมีความนิยม
พอๆกัน
ระหว่างเพลงร้องและบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีเริ่มมีการผสมวงเล็กๆ เกิดขึ้น
นักดนตรี
จอสกิน-เดอส์
เพรซ์
ปาเลสตรินา
เบิร์ด
ลักษณะของจังหวะมีท้้งเพลงแบบมีอุตราจังหวะ และไม่มีอัตราจังหวะ
ยุคกลาง(Middle Ages)
ศตวรรษที่5-15(ราวค.ศ.450-1400)
ยุคเมดิอีวัล(Madieval Period
ดนตรีในยุคนี้เป็นvacal polyphony
เพลงร้องโดยมีแนวทำนอง
หลายแนวสอดประสานกัน
ซึ่งพัฒนามาจากเพลงสวด (Chant)
ในระยะแรกเป็นดนตรีที่ไม่มีอัตรําจังหวะ(Non-metrical)
ระยะ
ต่อมาใช้อ้ตราจังหวะ 3⁄4
ต่อมาในศตวรรษที่14 มักใช้อัตราจังหวะ2/4 เพลงร้องพบได้ทั่วไป
เป็นที่นิยมมากกว่าเพลงที่บรรเลงด้วยเครื่องดนตรี
รูปแบบเพลงเป็นแบบล้อ
ทำนอง(Canon)
นักดนตรี
มาโซท์
แลนดินี
ยุคโรแมนติด(Romantic period)
คริสต์ศตวรรษที่19 (ราว ค.ศ. 1825-1900)
ลักษณะเด่นของดนตรีในยุคนี้คือเป็นดนตรีที่แสดงความรู้สึกของนักประพนัธ์เพลงเป็นอย่างมาก
ลักษณะการประสานเสียงมีการพัฒนาและคิดคhนหลักใหม่ๆ ขึ้นอย่างมากเพื่อเป็นการสื่อสารแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของผูัประพนัธ์เพลง
การใส่เสียงประสานจึงเป็น
ลักษณะเด่นของเพลงในยุคนี้
วงออร์เคสตร้ามีขนาดใหญ่มากขึ้นกว่าในยุคคลาสสิค
เพลงซศิมโฟนี โซนาตา และเซมเบอร์มิว
สิก ยังคงเป็นรูปแบบที่นิยมนอกเหนือไปจากเพลงลักษณะอื่นๆ เช่น Prelude, Etude,Fantasia เป็นต้น
นักดนตรีที่มีความรู้จักมีจำนวนมาก
เบโธเฟน ชูเบิร์ต โชแปง ลิสซท์ เมนเดลซอน เบร์ลิโอส ชูมานน์ แวร์ดี บราหมส์ ไชคอฟสี ริมสกี-คอร์สคอฟ รัคมานินอฟ ปุกซินี วากเนอร์ กรีก ริชาร์ด สเตราห์ มาห์เลอร์ และซิเบลุส เป็นต้น
ยุคคลาสสิค (Classical period)
เป็นยุคที่ดนตรีมีกฎเกณฑ์แบบแผนอย่างมาก
ศตวรรษที่18และช่วงต้นศตวรรษที่19 (ค.ศ. 1750-1825)
การบรรเลงโดยใช้วงและการเดี่ยวดนตรีของผู้เล่นเพียงคนเดียว( Concerto)เป็นลักษณะที่นิยมในยุคน้ี
บทเพลงประเภทซิมโฟนีมีแบบแผนที่นิยมกันในยุคนี้เช่นเดียวกับเพลงเดี่ยว(Sonata)
การใส่เสียงประสานเป็นลักษณะเด่นของยุค
การใช้บันไดเสียงเมเจอร์และไมเนอร์เป็นหลักในการประพันธ์เพลง
มีความสวยงามมีแบบ แผน บริสุทธิ์
ลีลาของเพลงอยู่ในขอบเขตที่นักประพันธ์ในยุคนี้ยอมรับกัน
ไม่มีการแสดงอารมณ์หรือความรู้สึกของ
ผู้ประพนัธไ์ว้ในบทเพลงอย่างเด่นชัด
นักดนตรี
กลุค
ไฮเดิน
โมทซาร์ท
เบโธเฟน
ยุคศตวรรษที่20(Contemporary Period)
ยุคของการทดลองสิ่งแปลกๆ ใหม่ๆ
นำเอาหลักการเก่าๆ มากพัฒนาเปลี่ยนแปลงปรับปรุงใหเ้ข้ากับแนวความคิดในยุคปัจจุบัน
หลักการเคาเตอร์พอยต์ (Counterpoint)
มีการใช้ประสานเสียงโดยการใช้บันไดเสียงต่ํางๆ รวมกัน (Polytonatity)และการไม่ใช่เสียงหลักในการแต่งทำนองหรือประสานเสียงจึงเป็นเพลงแบบใช้บันไดเสียง12 เสียง(Twelve-tone scale)ซึ่งเรียกว่าAtonalityอัตราจังหวะที่ใช้ทีการกลับไปกลับมา
ลักษณะสำคัญอีกประการหนึ่งคือการใช้การประสานเสียงที่ฟังระคายหูเป็นพื้น (Dissonance)
วงดนตรีกลับมาเป็นวงเล็กแบบเชมเบอร์มิวสิกไม่นิยมวงออร์เคสตรา มักมีการใช้อิเลกโทรนิกส์ทำให้เกิดเสียงดนตรีซึ่งมีสีสันที่แปลกออกไป
แนวคิดแบบโรแมนติกมีการพัฒนาควบคู่ไปเช่นกัน
นีโอโรแมนติก(Neo-Romantic)
นักดนตรี
สตราวนิ สกี โชนเบิร์ก บาร์ตอก เบอร์ก ไอฟส์ คอปแลนด์ ชอสตาโกวิช โปโกเฟียฟ ฮินเดมิธ เคจ เป็นต้น
ยุคอิมเพรสชั่นนิสติค (Impressionistic Period หรือImpressionism)
ช่วงระหว่างค.ศ. 1890 – 1910
ลักษณะสำคัญของเพลงยุคนี้คือใช้บันไดเสียงแบบเสียงเต็ม
ทำให้บทเพลงมีลักษณะลึกลับ คลุมเครือไม่กระจ่างชัด
บางครั้งจะมีความรู้สึกโล่งๆว่างๆ เสียงไม่หนักแน่น ดังเช่น เพลงในยุคโรแมนติก การประสานเสียงไม่เป็นไปตามกฎเกณฑ์
นักดนตรี
เดอบูสซี
ราเวล
เดลิอุส
ยุคบาโรค (Baroque Period)
ศตวรรษที่17-18 (ราว ค.ศ. 1600-1750)
การสอดประสานเป็นลักษณะที่พบได้เสมอในปลายยุค
ช่วงต้นยุคมีการใชล้กัษณะการใส่เสียงประสําน
(Homophony)
ใช้เสียงเมเจอร์ และไมเนอร์ แทนการใช้โหมดต่างๆ
บทเพลงบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีเป็นที่นิยมมากข้ึน
นิยมการนำวงดนตรีเล่นผสมกับ
การเล่นเดี่ยวของกลุ่ม
เครื่องดนตรี2-3 ชิ้น(Concertogrosso)
นักดนตรี
มอนเมแวร์ดี
คอเรลลี
วิวัลดี
บาค
ฮันเดล
มีการใช้เสียงหลัก(Tonal canter)อัตราจังหวะเป็นสิ่งสำคัญ
ของบทเพลง
เป็นลักษณะของความดัง-ค่อย มากกว่าจะใช้ลักษณะค่อยๆ ดังขึ้นหรือค่อยๆลง