Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่4 ธุรกรรมทางการเงินดิจิทัล - Coggle Diagram
หน่วยที่4 ธุรกรรมทางการเงินดิจิทัล
ประโยชน์ของธุรกรรมการเงินดิจิทัล
การทำไห้ธุรกรรมหือกิจกรนรมเกี่ยวกับการเงินแบบเดิมสะดวกและรวดเร็วขึ้นมากและธูรกรรมได้รับประโยชน์จากต้นทุนที่ลดลง
ความหมาย
กรนำเอาเทคโนโลยีมาใช้กับการเงินในการสร้างนวัฒกรรมใหม่เพื่อเป็นสินค้าเเละการบริการการแก้ปัญหาทางการเงิน
กลุ่มธุรกิจที่ประยุกต์ใช่เทคโนโลยีเข้ามาทำในการบริการที่เกี่ยวกับการเงินและการลงทุน
ผลสำเร็จของธุรกรรมทางการเงิน
เข้าถึงการบริริการได้ง่าย
มีความปลอดภัย
มีระบบรับรองที่มีประสิทธิภาพ
ใช้งานง่าย
ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย
แก้ไขปัญหาได้ตรงจุด
บทบาทของFintechกับระบบการเงินของไทยในอนาคต
2การส่งเสริมความร่วมมือในการพัฒนานวัฒกรรมทางการเงินโดยเฉพาะ
3การส่งเสริมองค์ความรู้Fintechแก่ผู้เกี่ยวข้อง
1สนับสนุนการสร้างนวัฒกรรมทางการเงินผ่านกลไก
ประเภทของFintech
5 Enterprise Financial Software
6 Investment Management
4 Payment
7 Insurtech
3 Cryptocurrency
2 Crowdfunding Platforms
1 Banking Technology
ยุคของFintech
Supply of Capital
การที่มี Venture Capital เกิดขึ้นมากมายช่วยให้ Startup มีโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่กว้างขึ้น ซึ่ง Venture Capital เหล่านี้จะมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการลงทุนใน Startup โดยตรง และยังสามารถให้คำปรึกษากับ Founder ได้อีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับ Venture Capital ที่เป็นธนาคารจะช่วยสนับสนุน FinTech Startup ได้เป็นอย่างดี
Regulations and Infrastructures:
หน่วยงานภาครัฐของหลายประเทศทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยได้ออกมาตรการส่งเสริม Startup อย่างจริงจังและต่อเนื่อง เช่นการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 5 ปีแรกให้กับ Startup นอกจากนี้ ตลาดหลักทรัพย์ กลต. ธนาคารแห่งประเทศไทย ต่างก็ตื่นตัวเกี่ยวกับ FinTech เช่นเดียวกัน ส่วนด้านโครงสร้างพื้นฐานนั้น การมี 4G ที่ครอบคลุมอย่างทั่วถึงจะช่วยทำให้เกิดบริการใหม่ๆ ขึ้นอีกมาก
Demand for Innovations
พัฒนาการของ FinTech ในประเทศไทยยังอยู่ในช่วงเริ่มต้นเมื่อเทียบกับต่างประเทศ ในขณะที่คนไทยมีความก้าวหน้าเรื่องการใช้ Smart Phone และ Social Network เป็นอันดับต้นๆ ของโลก ทำให้เรามีความต้องการใช้บริการเรื่องที่เกี่ยวกับการเงินในระดับที่ทัดเทียมกับต่างประเทศ เปิดโอกาสให้ผู้ที่สนใจทำ Startup ศึกษา Success Story จากต่างประเทศและนำมาปรับใช้ในประเทศไทยได้
วิวัฒนาการของธุรกรรมการเงินดิจิทัลFintech
Fintech 3.0 ยุคแห่งสตาร์ตอัป (ปี 2008-2014)
วิกฤตการณ์ทางการเงินที่แผ่ขยายไปทั่วโลกในปี 2008 ได้เปลี่ยนความคิดของผู้คนที่มีต่อระบบการเงินการธนาคารไปอย่างมาก และนั่นกลายเป็นจุดกำเนิดของ Bitcoin ที่มาพร้อมกับคำว่า cryptocurrency หรือสกุลเงินดิจิทัลที่ไม่มีตัวกลางมาคอยควบคุมในปี 2009
Fintech 2.0 ยุคแห่งการธนาคาร (ปี 1967-2008)
ยุคนี้คือช่วงเวลาสำคัญที่ระบบการเงินการธนาคารได้เปลี่ยนแปลงจากระบบแอนะล็อกไปสู่ระบบดิจิทัล โดยเริ่มต้นเมื่อปี 1967 ที่ธนาคาร Barclays ของประเทศอังกฤษ ได้แนะนำให้สาธารณชนรู้จักกับตู้ ATM เครื่องแรก และนี่ถือเป็นเหตุการณ์สำคัญของยุคฟินเทค 2.0
Fintech 1.0 ยุคแห่งการวางรากฐาน (ปี 1886-1967)
ตั้งแต่ปี 1886-1967 ถือได้ว่าเป็นยุค fintech 1.0 เริ่มจากที่สหรัฐอเมริกาได้วางสายเคเบิลข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกเป็นครั้งแรก ทำให้เกิดระบบการโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เทคโนโลยีอย่างโทรเลขและรหัสมอร์สเป็นครั้งแรก ซึ่งสิ่งนี้ได้กลายมาเป็นมาตรฐานสำหรับระบบการเงินการธนาคารของทั้งโลกมาจนถึงยุคปัจจุบัน
Fintech 4.0 ยุคเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี (ปี 2018-ปัจจุบัน)
เทคโนโลยีบล็อกเชนได้กลายเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จะผลักดัน fintech ไปสู่อนาคต เนื่องจากสิ่งนี้ได้นำเสนอจุดเด่นที่นอกเหนือจากเรื่องค่าใช้จ่ายและความซับซ้อนของระบบที่น้อยกว่า อย่างการทำให้ผู้บริโภคมีความไว้วางใจเพิ่มขึ้นจากการได้รับประสบการณ์การใช้งานผ่านระบบดิจิทัลที่เรียบง่ายและคิดค่าธรรมเนียมต่ำหรือไม่มีเลย
Machine learning และ AI เป็นเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาทสำคัญไม่แพ้กัน เห็นได้จากธนาคาร,ไฟแนนซ์, บริษัทประกันภัย, และสตาร์ตอัปด้าน fintech มากมาย ได้ใช้เทคโนโลยีเข้ามาวิเคราะห์และนำเสนอข้อเสนอ บริการ รวมถึงโปรโมชันที่ตรงกับความต้องการของลูกค้าแต่ละคน