Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างวัฒนธรรม การประกันคุณภาพการศึกษา ที่ยั่งยืน - Coggle Diagram
การสร้างวัฒนธรรม
การประกันคุณภาพการศึกษา
ที่ยั่งยืน
แนวคิดการประกันคุณภาพ
การศึกษา
"การประกันคุณภาพการศึกษา" หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาจัดขึ้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนว่าสถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุเป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแล
การประกันคุณภาพการศึกยา เป็นกระบวนการดำเนินงานตามภารกิจของสถานศึกษา เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและสังคม โดยรวมว่าการดำเนินงานของสถานศึกษาจะมีประสิทธิภาพและทำให้ผู้เรียนมีคุณภาพหรือคุณลักษณะพึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาที่ได้กำหนดไว้ องค์ประกอบของระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วยการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การติดตามตรวจสอบเพื่อควบคุมคุณภาพการศึกษา การประเมินคุณภาพการศึกษา ซึ่งรวมถึงการใช้ผลประเมินเป็นฐานเพื่อการพัฒนาคุณภาพในวงจรการพัฒนาใหม่ต่อเนื่อง
การขับเคลื่อนสถานศึกษา
สู่วัฒนธรรม
1.จิตสำนึกคุณภาพ
1.คุณภาพผู้เรียน
2.คุณภาพงาน
3.คุณภาพชีวิต
4.คุณภาพชุมชน/สังคม
2.วิถีชีวิตคุณภาพ
1.การครองคน
2.การครองตน
3.การครองงาน
3.การบริหารสถานศึกษาคุณภาพ
1.นิติธรรม
2.คุณธรรม
3.โปร่งใส
4.ความมีส่วนร่วม
5.ความรับผิดชอบ
6.ความคุ้มค่า
วัฒนธรรมการประกันคุณภาพ
การศึกษาที่ยั่งยืน
วัฒนธรรมคุณภาพ (Quality culture) หมายถึง แบบแผน หรือแนวทางการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ยึดถือปฏิบัติตามพันธกิจ เพื่อนำไปสู่การมีประสิทธิภาพและคุณภาพ เป็นพฤติกรรมในการปฏิบัติงาน หรือการดำเนินชีวิตของบุคลากรในองค์กร ไม่ว่าตนจะรับผิดชอบงาน ปฏิบัติงานหรือปฏิบัติภารกิจใดก็ตาม ทุกคนจะคำนึงถึงวัตถุประสงค์ และเป้าหมายขององค์กร
องค์ประกอบ
1.ภาวะผู้นำคุณภาพ
2.การทำงานเป็นทีม
3.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
4.การกระจายอำนาจและมอบอำนาจ
5.การยกย่องและให้รางวัล
6.การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
การสร้างวัฒนธรรมการประกัน
คุณภาพการศึกษา
1.การเตรียมการ
2.การดำนเนินการประกันคุณภาพภายใน