Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักภาษาไทย :, สมาชิกในกลุ่มปฐมวัย หมู่ 2
นางสาวรุ่งอรุณ อนันตภูมิ…
หลักภาษาไทย :
ธรรมชาติของภาษา
ความหมาย ภาษาเป็นการแสดงออกเพื่อสื่อความหมาย อาจจะเป็นการแสดงออกทางเสียง ท่าทาง ถ้อยคำที่มนุษย์ใช้สื่อความหมาย :
เสียงกับความหมายมีความสัมพันธ์กัน
- เกิดจากการเลียนเสียงสิ่งต่างๆ
- เกิดจากการเลียนเสียงของสัตว์
- เกิดจากการเลียนเสียงจากสิ่งสิ่งนั้น
- เกิดจากเสียงสระ พยัญชนะ
- เกิดจากภาษาถิ่นแต่ละถิ่นมีเสียงสัมพันธ์กับความหมาย
-
ภาษามีการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงภาษาเกิดจาก
- การพูดในชีวิตประจำวัน
- อิทธิพลของภาษาอื่น
- ความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
- การเรียนภาษาของเด็ก
ลักษณะที่คล้ายคลึงกันและแตกต่างกันของภาษา
ลักษณะที่คล้ายคลึงกัน
- ใช้เสียงสื่อความหมาย
- มีการสร้างศัพท์ขึ้นใหม่
- สามารถเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
ไวยากรณ์ ภาษาไทยเรียงประโยคจาก ประธาน กริยา กรรม
ลักษณะของภาษาในการสื่อสาร
วัจนภาษา คือ ภาษาที่ใช้ถอยคำในการสื่อสาร
อวัจนภาษา คือ ภาษาที่ไม่ใช้ถอยคำในการสื่อสาร เช่น กริยา ท่าทาง กายภาษา
เสียงกับความหมายไม่สัมพันธ์กัน คือ เสียงจะไม่สัมพันธ์กันแต่ก็รู้ความหมาย
- เด็ก หมายถึง คนที่มีอายุน้อย
อิทธิพลของภาษาอื่นและภาษาถิ่น
เมื่อมีการติดต่อสื่อสารหรือวัฒนธรรมอื่นเราก็อาจยืมมาจาก ภาษาบาลี สันสกฤต เขมร จีน และอังกฤษ
ภาษาถิ่น คือเป็นภาษาที่มื่อสารมาแต่กำเนิด
เสียงและอักษรในภาษาไทย
-
-
-
-
-
เสียงในภาษา ประกอบด้วย เสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ ที่เปล่งออกมาโดยใช้อวัยวะ ในการเกิดเสียง เช่น ปอด หลอดลม กล่องเสียง เส้นเสียง จมูก และอวัยวะต่างๆในช่องปาก
คำต่างประเทศในภาษาไทย
คือคำศัพท์บางคำที่เป็นคำยืม คำทับศัพท์ เช่นคำยืมภาษาบาลี-สันสกฤต, จีน, เขมร คำสมาส คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ
คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ การทับศัพท์หมายถึงการถ่ายเสียงและถอดตัวอักษรเป็นภาษาไทย เช่น แก๊ส เค้ก แท็กซี่ คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต พลาสติก วีดีโอ
คำยืมภาษาเขมรมักใช้เป็นคำราชาศัพท์ เช่น เสวย เขนย ถวาย โปรด ตรัส
ข้อสังเกตคำที่มาจากเขมรคือ
-มักสะกดด้วยพยัญชนะ จ ญ ร ล ส
- มักเป็นคำพยางค์เดียวที่ต้องแปลความหมาย
-มักเป็นคำควบกล้ำหรืออักษรนำ
-มักแผลงคำได้
คำยืมบาลี-สันสกฤต
-ใช้เป็นคำราชาศัพท์ ใช้กับพระสงฆ์ เป็นศัพท์เฉพาะทางศาสนา ใช้เขียนในวรรณคดี ร้อยแก้วร้องกรอง เป็นศัพท์บัญญัติ เป็นชื่อเฉพาะ ตัวอย่างคำบาลีเช่น ญาติ ทุกข์ วิญญาณ ลัทธิ ราชินี ตัวอย่างคำสันสกฤต เช่น ครรถ์ จักร เทศนา ธรรม ภาษา ศาล ศาตาร์
-
พยางค์และโครงสร้างพยางค์
พยางค์
พยางค์ หมายถึง เสียงที่เปล่งออกครั้งหนึ่ง ๆ โดยเสียงนั้นจะมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ โดยเสียงที่เปล่งออกมา ๑ ครั้ง เรียกว่า ๑ พยางค์ หรือถ้าเปล่งเสียงออกมา ๒ ครั้ง เรียกว่า ๒ พยางค์
โครงสร้างของพยางค์มีองค์ประกอบ ดังนี้
- เสียงพยัญชนะต้น
- เสียงสระ
- เสียงวรรณยุกต์
- เสียงสะกด เสียงพยัญชนะต้น
ลักษณะภาษาไทยและคำไทยแท้
ภาษาไทยเป็นภาษาในตระกูลภาษาคำโดด กล่าวคือ ภาษาไทยจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคำ บอกเพศ จำนวน เวลา หรือบอกหน้าที่ทางไวยากรณ์ของประโยค กล่าวคือ ภาษาไทยจะไม่มีการผันเหมือนภาษาอังกฤษ และไม่มีการเติมคำเหมือนภาษาบาลีและสันสกฤต และภาษาไทยจะเป็นคำพยางค์เดียวที่มีความหมายในตัวเอง แม้จะมีคำหลายพยางค์อยู่บ้าง แต่ก็เกิดจากคำประสม คำซ้ำ คำซ้อน
คำไทยแท้ส่วนมากมีพยางค์เดียว ไม่ว่าจะเป็นคำนาม สรรพนาม วิเศษณ์ บุพบท สันธาน อุทาน ฯลฯ ซึ่งเรียกว่าภาษาคำโดด เช่น ลุง ป้า น้า อา กา ไก่ ฯลฯ มีคำไทยแท้หลายคำที่มีหลายพยางค์ เช่น มะม่วง สะใภ้ ตะวัน กระโดด มะพร้าว
สมาชิกในกลุ่มปฐมวัย หมู่ 2
- นางสาวรุ่งอรุณ อนันตภูมิ เลขที่ 3
- นางสาวณัฐนันท์ การบรรจง เลขที่ 4
- นางสาวณัชกานต์ ทองขัน เลขที่ 7
- นางสาวปวีณา โคกถิ่น เลขที่ 11
- นายเจษฎากร พิมพารัตน์ เลขที่ 23
- นายวราเทพ จุตตะโน เลขที่ 29
- นายยุทธพิชัย เพียยา เลขที่ 32
-
-
-
-