Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักภาษา Link Title :, พยางค์และโครงสร้างพยางค์
พยางค์ คือ…
-
-
ธรรมชาติของภาษา
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร
-
อวัจนภาษา หมายถึง ภาษาท่ีไม่ใช้ถ้อยคําในการสื่อสาร ได้แก่ภาษาท่าทาง สีหน้า น้ำเสียง ดวงตา การสัมผัส ตลอดจนวัตถุสิ่งของ สัญญาณไฟ รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ต่างๆ
-
- ทุกภาษาใช้เสียงในการสื่อความหมาย เช่น ภาษาไทย เรียกสัตว์สี่เท้าที่สามารถเห่าและหอนได้ว่า “สุนัข”หรือ “หมา” แต่ภาษาอังกฤษจะเรียกสัตว์ลักษณะเดียวกันนี้ว่า “dog” นั่นหมายความว่า เสียงกับ ความหมายไม่สัมพันธ์กัน
- ทุกภาษามีการประกอบหน่วยย่อยในภาษาให้เป็นหน่วยท่ีใหญ่ข้ึน คือ เสียง/พยางค์/คำ/วลี/ประโยค
- ทุกภาษามีการเปลี่ยนแปลง เช่น อักษรย่อ ร.ร/รร.
- ทุกภาษามีเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง เช่น ภาษาไทยมีเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ แต่ในภาษาอังกฤษมีเพียงเสียงพยัญชนะและเสียงสระ
ภาษา หมายถึง การแสดงออกเพื่อการสื่อความหมายในทุกรูปแบบ เช่น การพูด การเขียน ภาพ เสียง สัญลักษณ์ สัญญาณไฟ ฯลฯy
เสียงและอักษรในภาษาไทย
-
เสียงในภาษาไทยมี 3 ชนิด
-
- เสียงพยัญชนะหรือเสียงแปร มี 44 รูป 21 เสียง แบ่งเป็นพยัญชนะต้น พยัญชนะสะกด 8 มาตรา มีเสียง ก ง ย ต น บ ม ว
3.เสียงวรรณยุกต์หรือเสียงดนตรี มี 4 รูป 5 เสียง แบ่งตามระดับเป็น 2 ประเภท 1. ประเภทเสียงคงที่ เสียงเอก เสียงสามัญ เสียงตรี 2.ประเภทเสียงเปลี่ยนระดับ เสียงโท เสียงจัตวา
-
-
-
-
-
-
-
-
-
คำต่างประเทศในภาษาไทย
- คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ภาษาเขมร ตัวอย่างเช่น เสวย เขนย ถวาย ขนง โปรด ตรัส
- ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต ตัวอย่างเช่น บัญญัติ บัลลังก์ เมตตา ทรัพย์ เทศนา ธรรม
-
- ภาษาจีน ตัวอย่างเช่น เย็นตาโฟ หวย ยี่ห้อ ลิ้นจี่ ห้าง หุ้น
-
-
-
-
-
-
-
-
- คำไทยแท้เป็นคำเป็นคำที่มีตัวสะกดเดียว
-
ภาษาไทย
น.ส.ชลิตา นาทันริ
น.ส.อรอุมา มีศรี
น.ส.สาสาวิตรี สียางนอก
น.ส.อรนภา เวงวิถา
น.ส. รัตติกาล กมลวงค์
น.ส.กรรณิการ์ ศรีบ้านโพน
น.ส.ปัทมาภรณ์ สังข์ชาตี
นายกฤดากร คำก้อน
-
-
5.คำไทยจะมีรูปวรรณยุกต์กำกับ ทำให้ออกเสียงต่างกัน มีความหมายต่างกัน เช่น คำว่า ปา,ป่า,ป้า
-