Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภ์เกินกำหนด (Post term pregnancy) - Coggle Diagram
การตั้งครรภ์เกินกำหนด
(Post term pregnancy)
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่ GA > 42 wks by LMP
สาเหตุ
Anencephalus
ทารกมีภาวะต่อมหมวกไตฝ่อ
ทารกไม่มีต่อมใต้สมอง
การตั้งครรภ์ในช่องท้อง
มีประวัติตั้งครรภ์เกินกำหนด
ท่าเด็กผิดปกติ
ทารกผิดสัดส่วนกับเชิงกราน
ทารกตัวใหญ่เกินไป
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะรกเสื่อม
ภาวะน้ำคร่ำน้อย
ทารกถ่ายขี้เทาในน้ำคร่ำและสำลักขี้เทา
ทารกเจริญเติบโตช้า
ปัญหาสุขภาพอื่นๆ
Hypothermia
Hypovolemia
Hypoglycemia
Metabolic acidosis
ลักษณะทารกแรกเกิดเกินกำหนด 3 กลุ่มตามความรุนแรง
ระยะที่ 1
ผิวแตกแห้ง เหี่ยวย่น
มีลักษณะขาดสารอาหาร
ไม่มีขี้เทาเคลือบตามตัว
ระยะที่ 2
พบลักษณะระยะที่ 1 ร่วมกับสีของขี้เทาเคลือบตามตัวและในน้ำคร่ำ
มีขึ้เทาเคลือบติด amnion รก สายสะดือ
ระยะที่ 3
พบลักษณะระยะที่ 1 และ 2 ร่วมกับการเคลือบติดสีเขียว/เหลืองจัดของ amnion สายสะดือ รก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ประวัติประจำเดือนครั้งสุดท้ายและครั้งก่อนสุดท้าย
ความสม่ำเสมอของรอบเดือน
ประวัติการคุมกำเนิด
GA ที่ทารกดิ้นครั้งแรก
น้ำหนักตัวผู้คลอด คงที่หรือลดลง
การตรวจหน้าท้องและตรวจภายใน
ตรวจระดับยอดมดลูก พบภาวะท้องลด
GA ที่ได้ยินเสียงหัวใจด้วยหูฟังธรรมดา
ตรวจภายในเพื่อประเมินขนาดมดลูกในไตรมาสแรก ถ้าปากมดลูกนุ่ม หมายถึง ตั้งครรภ์ครบกำหนด
การตรวจทางคลินิก
ทดสอบการตั้งครรภ์จากการตรวจปัสสาวะเป็นบวก
ตวรจหาระดับ estriol ในปัสสาวะ
on EFM หากทารกขาด O2 จาก late deceleration แสดงว่าทารกอยู่ในภาวะอันตรายจากรกเสื่อม
U/S เพื่อประเมิน GA, ปริมาณน้ำคร่ำ, สภาพทารกในครรภ์
การรักษา
ตั้งครรภ์เกินกำหนดและรกเสื่อม แต่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
กระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์ด้วยยา Prostaglandin E1
ที่นิยมใช้คือยา Misoprostol
ขนาด
800 mcg อมใต้ลิ้น
800-1000 mcg เหน็บทางทวารหนัก
Side effect
ไข้สูง หนาวสั่น อาเจียน ท้องเสีย
การพยาบาล
ฟังเสียงหัวใจทารกและการหดรัดตัวของมดลูกทุก 30 นาที
ประเมินความก้าวหน้าการคลอดทุก 2 ชม.
ไม่ควรทำเกิน 2 ครั้ง ใน 24 ชม.
ตั้งครรภ์เกินกำหนดและรกเสื่อม แต่มีภาวะแทรกซ้อน
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเร็วที่สุด
การตั้งครรภ์เกินกำหนดที่ไม่เหมาะต่อการคลอดทางช่องคลอด
CPD
ปากมดลูกแข็ง ไม่พร้อมต่อการคลอด
HT
ครรภ์แรก เมื่อผู้คลอดอายุมาก
ครรภ์เกินกำหนดและทารกอยู่ในท่าก้น
การพยาบาลในระยะคลอด
ดูแลให้ได้รับการชักนำการคลอดและยาเร่งคลอดตามแผนการรักษา
on EFM เพื่อเฝ้าระวังภาวะlate deceleration หรือ variable deceleration
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกด้วยการสัมผัสทุก 1ชม.
แนะนำให้พักผ่อนและนอนตะแคง
ถ้าถุงน้ำคร่ำแตก ให้ฟังเสียงหัวใจทารกทันที เพื่อประเมินภาวะสายสะดือพลัดต่ำและตรวจลักษณะน้ำคร่ำ
การดูดเสมหะทารกที่มี meconium stained amniotic fluid
รายที่เป็น thin meconium amniotic fluid
ควรใช้ลูกสูบยางแดงดูดเสมหะเฉพาะใน
ปากและจมูกก็พอ ไม่จำเป็นต้องดูดเสมหะในหลอดลม
รายที่เป็น thick meconium amniotic fluid ใช้สายsuction หรือลูกสูบยางแดงดูดขี้เทา/เสมหะออกจากปากให้มากที่สุด