Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะ Hypoglycemia ในทารกแรกเกิด - Coggle Diagram
ภาวะ Hypoglycemia ในทารกแรกเกิด
พยาธิสภาพ
ทารกขณะอยู่ในครรภ์จะได้รับกลูโคสมาจากมารดา
อินซูลินไม่สามารถผ่านรกได้
มารดามีระดับกลูโคสสูง ทารกมีระดับกลูโคสสูงด้วย
หลังคลอดทารกไม่ได้รับกลูโคสจากมารดา ทำให้ทารกมีระดับอินซูลินเพิ่มสูงขึ้น
ระดับกลูโคสทารกจะลดลงภายใน 1-2 ชม.แรก ทารกต้องปรับสมดุลอาศัยแหล่งนำ้ตาลที่เหมาะสมไว้ที่ตับ จะต้องมีไกลโคเจนที่ตับเพียง
การทำงานของตับ เอนไซม์ และกระบวนการไกลโคจีเนซิสของทารกยังไม่สมบูรณ์
ไกลโคเจนในตับน้อย
ทารกมีโอกาสเกิดภาวะนำ้ตาลในเลือดตำ่
สาเหตุ
ร่างกายมีนำ้ตาลกลูโคสน้อยลง
ร่างกายมีการใช้กลูโคสเพิ่มาากขึ้น
นำ้ตาลในเลือดตำ่ชั่วคราว
มีการติดเชื้อในกระแสเลือด
มารดามีประวัติ pre-eclampsia
มีขี้เทาในนำ้ครำ่
เกิดก่อนกำหนด
เจริญเติบโตในครรภ์ช้า
มีภาวะเลือดข้น
ขาดออกซิเจน
อุณหภูมิร่างกายตำ่
นำ้ตาลในเลือดตำ่ชนิดที่กลับมาเป็นซำ้หรือเป็นตลอดไป (recurrent หรือ persistenthypolyglycemia)
ภาวะอินซูลินเกิน
ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
ความผิดปกติของเมทาบอลิซึม
อาการ
หายใจไม่สมำ่เสมอ หรือ หายใจเร็ว
ร้องเสียงแหลม
อาการสั่น (tremor)
กรอกตาไปมา
ชักกระตุกเฉพาะที่
เหงื่ออก
อุณหภูมิร่างกายตำ่
ซีดหรือเขียว หยุดหายใจ
สะดุ้งผวา (jitteriness)
ซึม ไม่ดูดนม
การวินิจฉัย
การซักประวัติตรวจร่างกาย
แสดงอาการและอาการแสดงของภาวะนำ้ตาลในเลือดตำ่
ตรวจผลทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจระดับนำ้ตาลในเลือด โดยทั่วไปนิยมใช้การตรวจ Dextrostix ตรวจติดตามเป็นระยะๆ
ทารกมีโอากาสเกิดภาวะนำ้ตาลในเลือดตำ่ ควรตรวจระดับนำ้ตาลในเลือดติดตามทุก 30 นาที ถึง 2 ชั่วโมง
2.การใช้แถบนำ้ตาลตรวจ
เจาะเลือดแล้วต้องตรวจทันที ถ้าตั้งทิ้งไว้อุณหภูมิห้องระดับนำ้ตาลในเลือดจะลดลงอย่าวรวดเร็ว ระดับนำ้ตาลในพลาสมาสูงกว่าระดับนำ้ตาลในเลือดร้อยละ 15
serum glucose test
ในรายที่ผลนำ้ตาลในเลือดตำ่จากการเจาะ Dtx
การรักษา
1.ทารกที่มีภาวะเสี่ยงนำ้ตาลในเลือดตำ่
ตรวจหาระดับนำ้ตาลในเบือดภายใน 1-2 ชั่วโมงหลังเกิด
ติดตามผลเป็นระยะทุก 1-2 ชั่วโมง ใน 6-8 ชั่วโมงแรก
ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้ ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือดดำ ในรูปของ 5%-10% DW เริ่มให้อัตรา 4มิลลิกรัม/กิโลกรัม/นาที
ทารกที่มีภาวะนำ้ตาลในเลือดตำ่
ไม่แสดงอาการ
ตรวจระดับนำ้ตาลทุก 30 นาที
ให้กินสารละลานกลูโคสหรือนม
ถ้ากินอาหารไม่ได้ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือดดำในอัตรา 4-8 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/นาที และควรตรวจระดับนำ้ตาลเป็นระยะๆ
แสดงอาการ
ถ้ามีอาการดีขึ้น ค่อยๆลดอัตราการให้กลูโคสลง ครั้งละ 2 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/นาที
ให้สารละลายกลูโคสในรูปของ 10 % DW (200มิลลิกรัม/กิโลกรัม)
การใช้ยา hydrocortisone 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน โดยแบ่งให้ วันละ 2 ครั้ง
ปัญหาทางการพยาบาล
ทารกมีภาวะเสี่ยงต่อนำ้ตาลในเลือดตำ่ เนื่องจากทารกมีนำ้หนักตัวมาก
เป้าหมายการพยาบาล
ไม่เกิดภาวะนำ้ตาลในเลือดตำ่
เกณฑ์การประเมิน
ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะนำ้ตาลในเลือดตำ่ เช่น ซึม ไม่ดูดนม หายใจเร็ว สั่น เป็นต้น
มีระดับนำ้ตาลในเลือดปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะนำ้ตาลในเลือดตำ่ เช่น ซึม ไม่ดูดนม หายใจเร็ว สั่น อุณหภูมิกายตำ่ เป็นต้น
2.ดูแลให้ทารกได้รับสารนำ้และปริมาณนมให้ครบตามแผนการรักษา
ติดตามผลการตรวจหาระดับนำ้ตาลป็นระยะๆ
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
5.ดูแลควบคุมอุณหภูมิร่างกายของทารก ให้ความอบอุ่นแก่ทารก ดูแลให้ทารกนอนพักผ่อนอย่างเต็มที่ ลดการใช้พลังงานของร่างกาย
ข้อมูลสนับสนุน
Objective data : ทารกมีนำ้หนัก 4,095 กรัม ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ DTX 97 %
เปรียบเทียบพยาธิสรรีภาพของโรคกับผู้รับบริการ
ผู้ป่วยเกิดเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2566 เป็นเพศชาย นำ้หนักแรกคลอดอยู่ที่ 4,095 กรัม มารดา G2P1A0L1 GA 39 week คลอดธรรมชาติ นะหว่างการคลอดนำ้ครำ่ผิดปกติ มารดามาฝากครรภ์ช่วงอายุครรภ์ 7 เดือนได้แล้วเพระาก่อนหน้านั้นมีประจำเดือนมาตลอด รู้สึกว่ามีบูกดิ้นเลนมาฝากครรภ์ มารดาให้ประวัติว่า “ช่วงก่อนหน้าที่ไม่ได้มาฝากครรภ์ชอบกินของหวาน” จากการตรวจร่างกายผู้ป่วยมีหายใจหอบเหนื่อย ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ เจาะ Dtx ได้ 97 % , Hct 50 % แพทย์ได้ให้การรักษาโดย ให้สารนำ้ทางหลอดเลือดดำด้วย 10% DW 8 ml IV slowly push