Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยไตบาดเจ็บเฉียบพลันและโรคไตเรื้อรัง, 6411018 พันธกานต์…
การพยาบาลผู้ป่วยไตบาดเจ็บเฉียบพลันและโรคไตเรื้อรัง
หน้าที่ของไต
ควบคุมสมดุลของน้ำและส่วนประกอบของน้ำในร่างกาย
ทำการเปลี่ยนแปลงและขับของเสียจากการเผาผลาญ
สร้าง Hormone ชื่อ Erythropoietin
สร้าง Renin ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการควบคุมความดันโลหิต
เปลี่ยน Vitamin D จาก inactiveform เป็น active form
สร้าง Prostaglandins และ Kallikrein-kinin
สร้าง glucose ในภาวะอดอาหาร (Starvation)
ภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลัน (Acute Kidney Injury/ AKI)
เกณฑ์การวินิจฉัย Acute Kidney Disease ของ KDIGO Criteria
ระยะที่ 3
Scrเพิ่มขึ้น≥3เท่าของScrเริ่มต้น
หรือScrเพิ่มขึ้น≥4 mg/dl หรือผู้ป่วยต้องทำการบำบัดทดแทนไต
ระยะที่ 1
Scrเพิ่มขึ้น≥ 1.5 เท่าของScrเริ่มต้นหรือScrเพิ่มขึ้น≥0.3 mg/dl
ในระยะเวลา 48 ชั่วโมงนับจากเริ่มต้น
ระยะที่ 2
Scrเพิ่มขึ้น≥2 เท่าถึง< 3 เท่าของScrเริ่มต้น
ภาวะที่ไตเสียหน้าที่ไปอย่างเฉียบพลันใน
การขจัดของเสียรวมทั งการเสียความสามารถในการควบคุมน้ำ กรด-ด่าง และ อิเล็กโทรไลท
การวินิจฉัย
การซักประวัติและตรวจร่างกาย เบาหวานความดันโลหิตสูง การติดเชื้อ
การสูญเสียน้ำและเลือด อาการปัสสาวะแสบขัด
การตรวจปัสสาวะ
การตรวจเลือด
สาเหตุ
Prerenal:สาเหตุจากเลือดไปที่ไตลดลง
มีบาดแผลไฟไหม้รุนแรง ร่างกายสูญเสียน้ำอย่างมาก
Intrarenal (Intrinsic):เนื้อเยื่อไตถูกทำลายเนื่องจากได้รับสารที่มีพิษต่อไต
Post renal AKI:เกิดจากปัสสาวะไหลออกไม่ได้
อาการและอาการแสดง
กลุ่มอาการภาวะน้ำเกิน
ปัสสาวะออกน้อย บวม BP สูงขึ น HR เร็วขึ น Neck vein โป่ง
กลุ่มอาการ Azotemia /Uemiaได้แก่ คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย
Electrolyte imbalance เช่น Hyperkalemia
Metabolic acidosis หายใจหอบลึก
การดูแลรักษา
ให้สารน้ำที่เพียงพอเพื่อแก้ไข
ภาวะขาดน้ำและเจือจางสารพิษต่อไต
ค้นหา/แก้ไขสาเหตุ บางกรณีอาจใช้ยาเพื่อเพิ่ม renal blood flow
วางแผนสำหรับรักษาสมดุลของน้ำและ Electrolytes
ติดตามประเมินหน้าที่ของไต ปรับ/เปลี่ยนยาที่มีพิษต่อไต
ให้อาหารแคลอรี่สูงแต่จำกัดโปรตีน และelectrolyteที่เกินสมดุล
พิจารณาล้างไต(Dialysis)เพื่อแก้ไขความผิดปกติในระยะที่มีความรุนแรงและใช้เวลาระยะหนึ่งเพื่อให้ไต
กลับมาท าหน้าที่ได้ดังเดิม
โรคไตเรื้อรัง (Chronic kidney disease: CKD)
ภาวะที่ไตเสียหน้าที่อย่างถาวร
การตรวจคัดกรอง
การตรวจเลือด ปัสสาวะ
plain KUB, ultrasonography, CT scan
อาการและอาการแสดงของโรคไตเรื้อรัง
ภาวะเป็นเลือดเป็นกรด (Acidosis)
กระดูกบาง เนื้อกระดูกน้อยลงเมื่อขาด Active Vit.D
โลหิตจางเพราะขาด Erythropoietin
ระดับของโปแตสเซี่ยมแมกนีเซี่ยมและฟอสเฟตสูง
Uremia มีอาการผิดปกติในหลายระบบ เช่น อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
อาการระบบหัวใจและหลอดเลือดเช่น น้ำเกิน ความดันโลหิตสูง
อาการระบบประสาทเช่น การรับรู้ ความจำ
เลือดออก และติดเชื้อง่าย
อาการทางจิตประสาท กระวนกระวาย
อาการทางระบบหายใจ หอบ ปอดมีฝ้า
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ตรวจคัดกรองและส่งปรึกษาหรือส่งต่อ
ชะลอการเสื่อมของไต
ประเมินและรักษาภาวะแทรกซ้อนของโรคไตเรื อรัง
ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
เตรียมผู้ป่วยเพื่อการบำบัดทดแทนไต
การดูแลจัดการในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การควบคุมความดันโลหิตควรน้อยกว่า 130/80 mmHg
การควบคุมสมดุลน้ำโดยป้องการเกิดภาวะขาดน้ำ
การควบคุมสมดุลอิเล็คโทรไลท์ที่สำคัญคือ hyperkalemia
ควบคุมสมดุลกรด-ด่าง แก้ไขโดยการให้ Sodamint (NaHCO3
)
การควบคุมอาหาร
การเฝ้าระวังปัญหาจากdrug metabolism
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อชะลอความเสื่อมของไต
การรักษาโดยการบำบัดทดแทนไตคือการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม การล้างไตทางหน้าท้อง และการปลูก
ถ่ายไต โดยผู้ป่วยระยะ G4
สาเหตุ
เกิดจากโรคที่ไตโดยตรง
เบาหวาน
ความดันโลหิตสูง
ความผิดปกติทางอิมมูน
การติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะซ้ำๆ
ผลข้างเคียงจากการใช้ สารทึบรังสี ยาแก้ปวด ยาต้านอักเสบ
ภาวะไตผิดปกติ
ตรวจพบความผิดปกติดังต่อไปนี้อย่างน้อย 2 ครั้งในระยะเวลา 3 เดือน
ตรวจพบอัลบูมินในปัสสาวะ (albuminuria)
ตรวจพบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ (hematuria)
มีความผิดปกติของเกลือแร่ (electrolyte) ที่เกิดจากท่อไตผิดปกติ
ตรวจพบความผิดปกติทางรังสีวิทยา
ตรวจพบความผิดปกติทางโครงสร้างหรือพยาธิสภาพ
มีประวัติการได้รับผ่าตัดปลูกถ่ายไต
Nursing diagnosis
ภาวะน้ำเกิน, ภาวะขาดน้ำ
ไตได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ
เนื้อเยื่อได้รับอันตรายจากภาวะ Uremia
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
6411018 พันธกานต์ ลักษมีนา