Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา - Coggle Diagram
กรณีศึกษา
-
-
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไม่เหมาะสมต่อความดันโลหิตสูงร่วมกับไขมันในเลือดสูง
ข้อมูลสนับสนุน
S: ผู้รับบริการให้ข้อมูลว่า ประเภทอาหารไม่สามารถเลือกรับประทานได้มากนัก มีอะไรก็กินได้ บางทีลูกสาวก็ทําอาหารมาให้ เราก็ต้องกิน
แล้วก็สูบบุหรี่วันละ 10 ม้วน ในวันที่ว่าง ถ้าวันที่ไปช่วยลูกทำเส้นก๋วยเตี๋ยวก็ประมาณวันละ 5 ม้วน สูบมา20-30ปี
O: - วันที่ 25 ตุลาคม 2566 BP: 177/104 mmHg
- วันที่ 27 ตุลาคม 2566 BP: 135/82 mmHg,
- วันที่ 31 ตุลาคม 2566 BP: 178/103 mmHg
- วันที่ 3 พฤศจิกายน 2566 BP: 153/96 mmHg, BP: 137/85 mmHg
- วันที่7 พฤศจิกายน 2566 BP: 178/103 mmHg
จากสมุดประจำตัวพบว่า เมื่อปี 2557 แพทย์ได้วินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิต
และเมื่อปี 2559 แพทย์ได้วินิจฉัยว่าเป็นโรคไขมันในเลือดสูง
-
เกณฑ์การประเมิน:
- BP อยู่ในเกณฑ์ปกติ Systolic 140 - 90 mmHg, Diastolic 90 - 60 mmHg 2. เส้นรอบเอว < 80 เซนติเมตร
-
- Cholesterol, Triglycerides, LDLอยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้น
- คะแนนการประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง ในระยะ 10 ปี ข้างหน้า (Thai CV Risk Score) อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
- สร้างสัมพันธภาพโดยการพูดคุยและแสดงท่าทีที่เป็นกันเอง เพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
- ประเมินทัศนคติต่อโรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง ความต้องการแก้ไข ปัญหาสุขภาพเพื่อ เป็นแนวทางในการให้คําปรึกษา
- ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมองใน ระยะ 10 ปีข้างหน้า (Thai CV Risk Score )
- ให้ความรู้ถึงสาเหตุความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ซึ่งทั้ง 2 โรคมีสาเหตุหลักเกิดจากพฤติกรรมการ บริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม เพื่อให้ผู้รับบริการมีความรู้และเกิดความตระหนักในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของ ตนเอง
- แนะนําอาหารสําหรับผู้บริการ คือ แนะนําให้ลดของทอด ของมัน ของหวาน ของเค็ม อาหารแปรรูป ต่างๆ หากจําเป็นต้องรับประทานให้ออกกําลังเพิ่มขึ้นจากเดิม แนะนําให้รับประทานกระเทียม พริกไทย ปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ฝรั่ง แอปเปิล กะหล่ําปลี ถั่วฝักยาว เพื่อให้ผู้รับบริการรับประทานอาหารที่เหมาะกับโรค
6.แนะนําการรับประทานยาตามแผนการรักษาและการเฝ้าระวังอาการแทรกซ้อนจากยา เช่น การ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง เป็นต้น เพื่อทําให้ประสิทธิของยาครบถ้วนและปลอดภัยจากอาการแทรกซ้อนของยา
- แนะนําการออกกําลังกาย โดยควรออกกําลังกาย 3-4 ครั้ง/สัปดาห์หรือทํางานที่ใช้แรง ควรออกกําลัง กายต่อเนื่อง 10-30 นาที วันละอย่างน้อย 30 นาที อาจจะเป็นการเต้นแอโรบิค แกว่งแขนเดินไปมา
- จัดทําแผ่นพับให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง ได้แก่ สาเหตุ ความดันในคนปกติ อาการ ภาวะแทรกซ้อน การป้องกัน เพื่อให้ผู้รับบริการได้อ่านและทบทวนข้อปฏิบัติได
- สร้างแรงจูงใจและความมั่นใจโดยให้พูดคุยกับผู้ใช้บริการอื่นที่ประสบความสําเร็จใน การแก้ปัญหา และ ชมเชยให้กําลังใจเมื่อผู้ใช้บริการสามารถปฏิบัติได้ เพื่อให้ผู้ใช้บริการมีความภาคภูมิใจในตนเอง
- เปิดโอกาสให้ผู้รับบริการซักถามเกี่ยวกับข้อสงสัยหรือคําแนะนําต่างๆ เพื่อให้ผู้รับบริการเข้าใจมากขึ้น
- ติดตามผลทางปฏิบัติการ ได้แก่ Cholesterol, Triglycerides, HDL- Cholesterol, LDL
-
-
-
-
-