Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่1เรื่องการจัดการข้อมูลเเละสารสนเทศ - Coggle Diagram
หน่วยการเรียนรู้ที่1เรื่องการจัดการข้อมูลเเละสารสนเทศ
1.การรวบรวมข้อมูล
ข้อมูล(Data) คือ ข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นทั้งในอตีดและปัจจุบัน ซึ่งอาจจะเป็นข้อมูลตัวเขล ข้อมูลตัวอักษร ข้อมูลรูปภาพ ข้อมูลเสียง หรือสัญลักษณ์ต่างโดยเมื่อพิจารณาถึงประเภทข้อมูลตามเเหล่งที่มาสามารถแบ่งได้2 กลุ่ม ได้แก่ข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ
1.1ข้อมูลปฐมภูมิ(Primary Data)เป็นข้อมูลที่ผู้ใช้เก็บรวบรวมด้วยตนเองไห้ได้ข้อมูลที่ได้ตรงตามความต้องการมากที่สุดเพราะสามารถควบคุมลักษณะการเก็บข้อมูลและรายละเอียดอื่นได้ตามที่ต้องการการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิโดยการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ สามารถทำได้ดั้งนี
การสัมภาษณ์ส่วนบุคคลเป็นการสื่อสารต่อหน้า(Face-to-Face)และเป้นการสื่อสารแบบสองทาง(Two-way Conversation)ระหว่างผู้สัมภาษณ์กับผู้ตอบคำถามซึ่งเป็นผู้ไห้ข้อมูลโดยที่ผู้สัมภาษณ์จะเป็นผู้ถามคำถามและควบคุมรูปแบบของการสัมภาษณ์
2การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์เป็นการรวบรวมข้อมูลที่สะดวกและง่ายต่อการเข้าถึงผู้ไห้ข้อมูลด้วยเหตุที่คนในสังคมปัจจุบันมีโทรศัพท์มือถือติดตัวอยู่ตลอดเวลาถึงแม้งในบางครั้งอาจจะเกิดปัญหาการติดต่อกันผู้ไห้ข้อมูลไม่ได้ หรือรับการปฏิเสธจากผู้ไห้ข้อมูล
3การใช้แบบสอบถามเป็นการรวบรวมข้อมูลผู้ตอบกรอกข้อมูลด้วยตัวเองโดยถือเป็นการรวบรวมข้อมูลที่มี่ความนิยมเป็นที่แพร่หลายในปัจจุบันส่วนใหญ่การตอบแบบสอบถามนี้จะประกอบไปด้วยคำถามจำนวนไม่มากหรือไม่ยาวเกินไปและคำตอบมักเป็นคำตอบที่ไม่ยาวเกินไปเช่นกัน ใบบางคำถามมักมีคำตอบมาให้เลือก เพื่อความรวดเร็วและสะดวกในการตอบแบบสอบถาม ใช้แบบสอบถามในการรวบรวมข้อมูลสามารถแบ่งรูปแบบของแบบสอบถามออกเป็น 2รูปแบบวันนี้1 แบบสอบถามปลายเปิด(Open-ended Form)แบบสอบถามแบบนี้เป็นแบบสอบถามที่ไม่ได้กำหนดคำตอบไว้กูตอบแบบสอบถามสามารถเขียนคำตอบหรือแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระด้วยคำพูดของตนเอง2 แบบสอบถามปลายปิด(Closed-ended Form)เเบบสอบถามแบบนี้ประกอบด้วยข้อคำถามและตัวเลือกให้ผู้ตอบแบบสอบถามเลือกตอบซึ่งตัวเลือกนี้สร้างขึ้นโดยคาดว่าพูดตอบแบบสอบถามสามารถเลือกตอบได้ตามความต้องการและมีอย่างพอเพียงเหมาะสมแบบสอบถามปลายเปิดสามารถตอบได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว
4 การสังเกตวิธีการรวบรวมข้อมูลที่เป็นทางเลือกสุดท้ายในกรณีที่ไม่สามารถรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีอื่นได้เช่น ข้อมูลประพฤติกรรมของคนและของสัตว์ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นรอบตัวทั้งการสังเกตพฤติกรรมลักษณะต่างๆ ของทั้งคน สัตว์ สิ่งของ ภาษาพูด ขนมธรรมเนียม วัฒนธรรม และการสังเกตที่ไม่ใช่พระพฤติกรรม วิธีการสังเกตแบ่งออกได้เป็น 2 วิธี ดังนี1 การสังเกตโดยตรง ซึ่งผู้สังเกตจะเป็นส่วนหนึ่งของเหตุการณ์แต่จะไม่มีการควบคุมหรือจัดการใดๆ สถานการณ์ที่ต้องการสังเกตเพียงแต่สังเกตและบันทึกสิ่งที่เกิดขึ้น เช่น การสังเกตคุณภาพชีวิตของคนในสังคม2 การสังเกตแบบอ้อม เป็นการสังเกตแบบที่ผู้ถูกสังเกตจะไม่รู้ตัว แม้ว่าจะได้ข้อมูลที่ถูกต้องแต่ต้องคำนึงถึงเรื่องจริยธรรม
1.2ข้อมูลทุติยภูมิข้อมูลทุติยภูมิ(Secondary Data)เป็นข้อมูลที่รวบรวมใว้ด้วยผู้อื่นการนำข้อมูลทุติยภูมิมาใช้จะต้องตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลก่อน โดยดูว่าใครเป็นผู้รวบรวมใว้มีวิธีการอย่างไร และข้อมูลมีข้อดีและข้อเสียอย่างไรเพื่อจะได้นำข้อมูลไปใช้และอ้างอิงได้อย่างมั่นใจโดยข้อมูลทุติยภูมิมีข้อดีและข้อเสียดังนี้
ข้อดี -สามารถนำข้อมูลไปใช้ได้ง่ายโดยไม่ต้องเสียเวลาในการรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองและเป็นการประหยัดงบประมาณอีกด้วย ข้อเสีย
-ข้อมูลที่มีการรวบรวมไว้แล้วอาจไม่ตรงตามเป้าหมายที่ต้องการอาจจะทำไห้เสียเวลาใรการหาข้อมูลหลายแหล่งข้อมูลทุติยภูมิไปใช้เราไม่สามารถควบคุมความถูกต้องของข้อมูลได้ถแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบดังนี
1.ข้อมูลจากข้อมูลภายในเป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นภายในหน่วยงานหรือภายในองค์กรของผู้ใช้งาน เช่น ข้อมูลพนักงานข้อมูลทางการเงินโดยข้อมูลจากแหล่งข้อมูลภายในมีลักษณะเฉพาะตัว
ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลภายนอกเป็นการข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมของบุคคลหน่วยงานหรือองค์กรภายนอก เช่นข้อมูลทางด้านสถิติต่างๆจากหน่วยสำนักสถิติแห่งชาติซึ่งการใช้งานข้อมูลจากแหล่งข้อมูลภายนอก
2.การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล (Data Processing)
หมายถึงวิธีการจัดการกับข้อมูลซึ่งอาจเป็นการคำนวณหรือการเปรียบเทียบลักษณะต่างๆ เพื่อให้ข้อมูลนั้นอยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์โดยการประมวลผลข้อมูลสามารถแบ่งตามอุปกรณ์ที่ใช้ได้ 3 ประเภท คือ การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักรกล เเละการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
2.2การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักรกล(Mechanical Data Processing) เป็นวิธีการประมวลผลข้อมูลที่อาศัยแรงงานมนุษย์ร่วมกับเครื่องจักรกล เช่น การคำนวณด้านบัญชีด้วยเครื่องทำบัญชี (Accountine
Machine
2.1 การประมวลผลข้อมูลด้วยมือการประมวลผลข้อมูลด้วยมือ (Manual Data Processing) เป็นวิธีการประมวลผลในยุคเริ่มต้นที่ใช้มาตั้งแต่ในอดีต อุปกรณ์ที่ใช้ในการประมวลผล
ได้แก่กระดาษ ลูกคิด และเครื่องคิดเลข
2.3การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์์(Electronic Dara Processing)เป็นวิธีการประมวลผลข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เนื่องจากมีความถูกต้องแล้วล่ะการประมวลข้อมูลด้วยมือ เเละเครื่องจักรกล อีกทั้งการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็ว
1.ลำดับการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์มี 3ขั้นตอนดังนี้
1.การนำข้อมูลเข้า (Input)เป็นขั้นตอนการรับข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ โดยผ่านทางหน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เช่น งานป้อนข้อมูลตัวเลขหรือตัวอักษรทางแป้นพิมพ์ การรับข้อมูลเสียงจากไมโครโฟน
2.การประมวลผล (Process)เป็นขั้นตอนการนำข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนการนำเข้ามาจัดการโดยผ่านกระบวนการต่างๆ เช่น การคำนวณ การเรียงลำดับข้อมูล การแยกประเภทข้อมูล
3.การแสดงผล (Output) เช่นการเเสดงผลทางจอภาพ การเเสดงผมทางการดาษพิมพ์
2.วิธีการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์โดยทั่วไปการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์นั้นจำเป็นต้องผ่านการประมวลผลไห้เป็นสารสนเทศก่อน จึงสามารถนำสารสนเทศเหล่านั้นไปใช้ได้อย่างมีสิทธิภาพ ซึ่งวิธีการประมวลผลข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น2วิธีดังนี
1ประมวลผลแบบแบตช์(Batch Processing)เป็นการประมวลผลแบบมีการรวบรวมข้อมูลใว้ช่วงเวลา ซึ่งการประมวลผลมีวิธีนี้จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการประมวลผลได้มากกว่าประมวลผลแบบอื่น เช่น ระบบคิดดอกเบี้ยของธนาคารทุก3เดือนการคิดค่าน้ำและค่าไฟฟ้าทุกสิ้นเดือน โดยการประมวลผลแบบแบตช์มีข้อดีและข้อเสียดังนี้
การประมวลผลแบบแบตช ข้อดี 1เหมาะสำหรับองค์กรที่มีขนาดใหญ่มีปริมาณข้อมูลมากแต่ไม่จำเป็นต้องใช้ประโยชน์จากข้อมูลทันที 2ง่ายต่อการตรวจสอบ เมื่อเกิดข้อผิดพลาดทำไห้สามารถตรวจสอบข้อมูลได้ง่ายข้อเสีย 1ข้อมูลที่ไม่ทันสมัย เนื่องจากมีกำหมดระยะเวลาในการประมวลผล2จำเป็นต้องใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูล
2การประมวลผลแบบอินเทอร์แอ็กทิฟ(Interactive Processing)เป็นการประมวลผลที่ไม่ต้องรอเวลาในการรวบรวมข้อมูลโดยคอมพิวเตอร์จะทำการประมวลผลและไห้ผลลัพธ์ทันทีหนังจากได้ข้อมูลนำเข้า ด้วยการประมวลผลแบบอินเทอร์แอ็กทืฟที่พบเห็นได้ในปัจจุบันนี้มี2ประเภท ดังนี้
(1)การประมวลผลแบบออนไลน์(Online Processing)เป็นวิธีนำข้อมูลที่รับเข้ามาประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์โดงตรงโดยข้อมูลที่นำเข้่ไม่จำเป็นต้องอยู่ที่เดียวกับคอมพิวเตร์ที่ทำการประมวลผล เช การทำธุรกรรมทางการเงินด้วยเครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ(Automatic Teller Machine: ATM)
2การประมวลผลแบบทันที(Real-Time Processing)เป็นการประมวลผลที่มีวัตถุประสงค์ในการไห้ผลลัพธ์ในลักษณะทันทีทันใดนิยมใช่ร่วมกับประมวลผลแบบออนไลน์ เช่น เว็บไซต์ที่ไห้ผู้ใช้งานแสดงความคิดเห็นได้ และหนังจากแสดงความคิดเห็นแล้วเว็บไซต์จะแสดงความผลลัพธ์ความคิดเห็นนั้นบนหน้าเว็บไซต์ทันที
การประมวลผลเเบบอินเทอร์เเอ็กทิฟ ข้อดี1สามารถตรวจสอบความถูกต้องข้อมูลที่นำเข้าไปได้ทันที 2ข้อมูลที่นำเข้าจะเป้นข้อมูลทันสมัยข้อเสีย 1มีโอการผิดพลาดได้2การแก่ไขข้อผิดพลาดทำไห้ได้ยากกว่าการประมวลผลแบบแบตช์
4ขั้นตอนการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอนดังนี้การลงรหัส(Coding)เป็นการใช้รหัสแทนข้อมูลจริงทำให้ข้อมูลอยู่ในรูปแบบพี่สะดวกรวดเร็วต่อการประมวลผลช่วยให้ประหยัดเวลาและพื้นที่โดยรหัสสามารถเป็นได้ทั้งทั้งตัวเลขและตัวอักษรเช่นข้อมูลเพศของนักเรียนให้รหัสMแทนเพศชายรหัสFแทนเพศหญิงหรือใช้รหัสแทนชื่อแผนกในการใช้งาน การตรวจสอบแก้ไขข้อมูล(Editing)กระบวนการที่มีความถูกต้องและเหมาะสมที่สุดก่อนนำไปประมวลผลเช่นกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล การประยุกต์แก้ไขข้อมูลหรือนำข้อมูลที่ไม่ถูกต้องนำออกไปเช่นการตรวจสอบคะแนนของนักเรียนก็นำไปประมวลผล การแยกประเภทข้อมูล(Classifying) การแยกประเภทข้อมูลออกตามลักษณะข้อมูลหรือตามลักษณะงานที่จะนำขอมูลไปใช้ เพื่อความสะดวกในการประมวลผลขั้นต่อไปเช่นการแยกข้อมูลข้อมูลประวัติชั้นเรียน การแยกคะแนนสอบตามรายวิชา การแยกสินค้าในร้านตามประเภทของสินค้า
การบันทึกข้อมูลลงสื่อ(Media)เป็นการจัดเตรียมข้อมูลไห้อยู่ในรูปของสื่อหรืออุปกรณ์ที่อยู่ในรูปแบบคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปประมวลผลได้เป็นการบันทึกข้อมูลลงในจานแม่เหล็กหรือเทปแม่เหล็กเพื่อนำไปประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ต่อไป2ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล(Processing)เป็นกระบวนการจัดการข้อมูลเพื่อให้ได้เป็นสารสนเทศโดยนำข้อมูลที่จัดเตรียมไว้เข้าสู่คอมพิวเตอร์เพื่อทำการประมวลผลผ่านเว็บไซต์สำหรับประมวลผลต่างๆ3ขั้นตอนการไปใช้ประโยชน์(Output)เป็นการนำไปใช้ประโยชน์และการแสดงผลลัพธ์ เป็นขั้นตอนหลังจากผ่านกระบวนการประมวลแล้ว ซึ่งเป็นขั้นตอนในการแปลผลลัพธ์ไห้ออกมาอยู่ในรูปที่สามารถเข้าใจง่าย หรือสามารถส่งต่อและนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ เช่น การนำเสนอในรูปแบบรายงาน การนำเสนอในรูปแบบแผนภูมิ เช่น รายงานแสดงยอดขายรายเดือน
3.กรรมวิธีในการประมวลผลข้อมูลดวยคอมพิวเตอร์
1.การคำนวณ
2.การจัดเรียงข้อมูล
3.การจัดกลุ่มข้อมูล
4.การสืบค้นข้อมูล
5.การรวมข้อมูล
6.การสรุปผล
7.การทำรายงาน
8.การบันทึก
9.การปรับปรุงข้อมูล
10.การสำเนาข้อมูล
11.การสำรองข้อมูล
12.การกู้ข้อมูล
13.การสื่อสารข้อมูล
14.การบีบอัดข้อมูล
1.การใช้ซอฟต์แวร์ในการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลและสารสนเทศในปัจจุบันมีการนำซอฟต์แวร์ต่างๆ ช่วยในการจัดการข้อมูลมีทั้งซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในประมวลผลข้อมูล และซอฟต์แวร์ที่ใช้นำเสนอข้อมูล
3.1ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล
การรวบรวมข้อมูลถือเป็นต้นทางและเป็นส่วนสำคัญของได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ ซึ่งซอฟต์แวร์เหล่านี้จะถูกสร้างเป็นแบบต่างๆ เพื่อใช้ในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลที่ต้องการ ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการรงบรวมข้อมูลน่าสนใจ ดังนี้
1 ซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งอยู่บนคอมติวเตอร์เช่น Microsoft Word Microsoft Excel Microsoft Access
2 ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานผ่านอินเตอร์เน็ตเช่น Docs Google Sheets Google Forms Microsoft Forms
3.2ซอฟต์แวร์ที่ประมูลข้อมูล
การประมูลข้อมูลเป็นอีกขั้นตอนหนึ่งที่ต้องเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมกับประเภทข้อมูล หรือวัตถุประสงค์การประมวลข้อมูลนั้น โดยซอฟต์แวร์ที่ประมวลผลข้อมูลนั้นมี 2 ประเภท ดังนี้
1ซอฟต์แวร์สำเร็จรูปเช่น Microsoft Word Microsoft Excel Google Sheets SPSS Power BI
2ซอฟต์แวร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อประมวลผลข้อมูลโดยเฉลี่ย เช่น ซอฟต์แวร์เพื่อประมวลผลทางการแพทย์
ซอฟต์แวร์เพื่อประมวลผลทางด้านวิศวกรรม ซอฟต์แวร์เพื่อประมวลผลข้อมูลสภาพอากาศ
3.3ซอฟต์แวร์ที่สำหรับสร้างและนำเสนอข้อมูลการนำเสนอข้อมูลเป็นส่วนที่เข้ามามีบทบาทสำคัญในหน่วยงานหรือองค์กร เพราะหากเราข้อมูลที่ดีเพียงใดแต่ขนาดนำเสนอข้อมูลที่ดี ไม่สามารถทำไห้ผู้ที่นำข้อมูลไปใช้งานเข้าใจหรือเห็นภาพการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์กระบวนการทั้งหมดพี่ทำมาตั้งแต่ต้นจนได้ข้อมูลที่เป็นสารสนเทศก็ไร้ประโยชน์ ดังนั้นการนำเสนอจึงจำเป็นและต้องรู้จักการนำเสนอ เพื่อให้ข้อมูลไปใช้งานได้อย่างเหมาะสมกับงานตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการในปัจจุบันซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการสร้างและนำเสนอข้อมูลมีไห้เลียกใช้จำนวนมาก แต่ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการสร้างและนำเสนอข้อมูลในปัจจุบันนี้มีหลายประเภท ดังนี้ 1ซอฟต์แวร์เพื่อในการสร้างและนำเสนอข้อมูลแบบ Slide Presentation เช่น Microsoft PowerPoint Keynote Slide Dog OpenOffice Impress Kingsoft Presentationซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งบนคอมพิวเตอร์ หรือจะใช้ซอฟต์แวร์ที่เป็นแบบออนไลน์ผ่านอินเตอร์เน็ต เช่นVisme Prezi Next Deck Emaze, Google Slide2 ซอฟต์แวร์เพื่อใช้ในการสร้างภาพการนำเสนอข้อมูลในรูปแบบกราฟMicrosoft Excel SPSS Power BI 3 ซอฟต์แวร์เพื่อการสร้างภาพอินโฟกราฟิก เช่น Photoshop Illustrator4ซอฟต์แวร์เพื่อการสร้างและนำเสนอข้อมูลด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (AR) เช่น Unity HP Reveal BIippar Arivive6ซอฟต์แวร์เพื่อใช้การสร้างภาพ 3 มิติ เช่น Autodesk 3ds Max SketchUp Blender
1ซอฟต์แวร์เพื่อในการสร้างและนำเสนอข้อมูลแบบ Slide Presentation เช่น Microsoft PowerPoint Keynote Slide Dog OpenOffice Impress Kingsoft Presentationซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งบนคอมพิวเตอร์ หรือจะใช้ซอฟต์แวร์ที่เป็นแบบออนไลน์ผ่านอินเตอร์เน็ต เช่นVisme Prezi Next Deck Emaze, Google Slide
2 ซอฟต์แวร์เพื่อใช้ในการสร้างภาพการนำเสนอข้อมูลในรูปแบบกราฟMicrosoft Excel SPSS Power BI
3 ซอฟต์แวร์เพื่อการสร้างภาพอินโฟกราฟิก เช่น Photoshop Illustrator
4ซอฟต์แวร์เพื่อการสร้างและนำเสนอข้อมูลด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (AR) เช่น Unity HP Reveal BIippar Arivive
6ซอฟต์แวร์เพื่อใช้การสร้างภาพ 3 มิติ เช่น Autodesk 3ds Max SketchUp Blender