Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีที่ใช้ในการทำธุรกรรมโดยไม่ต้องผ่านบุคคลที่สาม…
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีที่ใช้ในการทำธุรกรรมโดยไม่ต้องผ่านบุคคลที่สาม (Blockchain)
1.ความหมายของ Blockchain
Blockchain คือ เทคโนโลยีการประมวลผลและจัดเก็บข้อมูลแบบกระจายศูนย์ หรือที่เรียกว่า Distributed Ledger Technology (DLT) ซึ่งเป็นรูปแบบการบันทึกข้อมูลที่ใช้หลักการ Cryptography ร่วมกับกลไก Consensus โดยข้อมูลที่ถูกบันทึกในระบบ Blockchain นั้นจะสามารถทำการแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ยาก ช่วยเพิ่มความถูกต้อง และความน่าเชื่อถือของข้อมูล
8.ประโยชนฺ์ของ Blockchain
8.3 การชำระแบบ Peer to Peer และการส่งเงินต่างประเทศ
8.4 การรักษาความปอดภัย และการแบ่วปันข้อมูล KYC
8.2 การซื้อขายพันธบัตรและหุ้น
8.5 การเพิ่มประสิทธิภาพ Trade Finance และงานประกัน
8.1 การโอนเงิน ชำระเงิน
2.แนวคิด Blockchain
แนวคิด Blockchain เริ่มกลับมาเป็นกระแสที่ต้องจับตามมองอีกครั้ง พร้อมมีการพัฒนา ใหม่ ๆ ไปสู่การใช้งานที่มากกว่าการทำธุรกรรม Bitcoin ในอดีตที่ไม่ได้รับการยอมรับมากนัก ผนวกรวมกับกระแส การเพิ่มขึ้นของอุปกรณ์ที่ใช้แนวคิด อินเทอร์เน็ต ออฟ ธิงส์ (Internet of Things) จำเป็นต้องมีการจัดการดูแลอย่างการรักษาความปลอดภัยระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ และความจำเป็นที่จะต้องบันทึกฐานข้อมูลของการติดต่อต่าง ๆ เหล่านั้น ทำให้เทคโนโลยีอย่าง Blockchain ที่ให้ความสําคัญกับความเป็นส่วนบุคคลจะกลายมาเป็น ตัวช่วยสำคัญของ การใช้งานดังกล่าว โดยลดขั้นตอนระบบการทำงานให้เรียบง่ายขึ้น มีการยืดหยุ่นที่สูงขึ้น รวมทั้ง การตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว
5.หลักการทำงานของเทคโนโลยี Blockchain
บล็อกเชน เป็นรูปแบบการเก็บข้อมูล (Data structure) แบบหนึ่ง ที่ทำให้ข้อมูล Digital transaction ของแต่ละคนสามารถแชร์ ไปยังทุก ๆ คนได้ เป็นเสมือนห่วงโซ่ (Chain) ที่ทำให้ block ของข้อมูลลิ้งก์ต่อไปยังทุก ๆ คนเป็น โดยที่ทราบว่าใครที่เป็นเจ้าของและมีสิทธิในข้อมูล นั้นจริง ๆ เมื่อบล็อกของข้อมูลได้ถูกบันทึกไว้ในบล็อกเชน มันจะเป็นเรื่องยากมาก ๆ ที่จะเข้า ไปเปลี่ยนแปลง เวลาที่มีใครต้องการจะเพิ่มข้อมูล ทุก ๆ คนในเครือข่ายซึ่งล้วนแต่มีสำเนาของ บล็อกเชน สามารถรัน Algorithm เพื่อตรวจสอบ Transaction โดย Transaction ใหม่นี้จะได้รับ อนุญาต ต่อเมื่อในเครือข่ายส่วนใหญ่เห็นด้วยว่ามันถูกต้อง
3.วิวัฒนาการของ Blockchain ด้วย Fork
การ Fork เป็นกลไกที่ก่อให้เกิดวิวัฒนาการที่ยิ่งใหญ่มาก ซึ่งการที่จะทำให้การ Fork มีประสิทธิผลนั้น การให้ผลตอบแทนแก่กลุ่มต่าง ๆ สำหรับการทดลองเส้นทางใหม่ เป็นเรื่อง ที่จำเป็น นั่นหมายถึง การแบ่ง Token ใหม่ในการ Fork เพื่อมอบผลตอบแทนแก่ผู้สร้าง Fork หากปราศจากสิ่งนี้ คิดว่าเราจะยิ่งเห็นปัญหาที่ทำให้นักพัฒนาต้องลำบากใจ อย่างที่เราเห็นกับ บิทคอยน์ โปรเจ็คต่าง ๆ เริ่มเปลี่ยนแปลงช้าลงเพราะเกรงว่าจะทำลายมูลค่าในปัจจุบัน
7.ประเภทของ Blockchain
7.2 Private Blockchain (Blockchain แบบปิด)
7.3 Consortium Blockchain (Blockchain แบบ เฉพาะกลุ่ม)
7.1 Public Blockchain (Blockchain แบบเปิดสาธารณะ)
6.องค์ประกอบของเทคโนโลยี Blockchain
6.1 Block เป็นการเก็บ Data Transaction/Fact โดยบรรจุในกล่อง(Block) และเมื่อเปิดกล่องข้อมูลภายในต้องห้ามเปลี่ยนแปลง
6.2 Chain การเอา header (hash) ของ Block
มาเรียงต่อกันเป็น Chain
6.3 Consensus วิธีตกลงกันว่า Block ถัดไปจะเก็บอย่าวไร
6.4 Validation การตรวจสอบธุรกรรม ใช้ Digital Signature (private key)
6.5 Wallet (optional) กระเป๋าที่ทำให้เราทราบข้อมูลค่าของเงินที่เรามีอยู่
4.ลักษณะการทำงานของ Blockchain
3.1 A ต้องการโอนเงิน (ส่งข้อมูล) ไปให้ B ผ่านเลขบัญชี โดยใช้ Private (key+Password uaz Public Key)
3.2 เก็บ Transaction ไว้ใน Public Ledger
3.3 ยืนยันความถูกต้องโดย Miner และต้องไม่ถูกคัดค้านจากผู้ใช้
3.4 เพิ่ม Block นั้นเข้าไปยัง Chain
3.5 เงินถูกถ่ายโอนและอัพเดตข้อมูลให้แก่ผู้ใช้