Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case Study, น.ส.ณัฐชยา วีระชาติ 65110007-5 เลขที่ 6 - Coggle Diagram
Case Study
แรกรับที่wardสามัญ
คนไข้ตื่นรู้เรื่องรู้ตัวดี รู้สึกหอบเล็กน้อยแต่ไม่เหนื่อย V/S, sPO2 monitoring,
-
-
-
-
-
-
ผล Lab ต่างๆ
CBC,
RBC= 3.75 mill/cu.mm, HGB= 10.0 g/dl, HCT= 30.4 mg%, PLT count= 180000ul, WBC=17,700 ul
Electrolyte,
Sodium=134 mmol/L, K=3.4 mmol/L, Cl= 98.8 mmol/L, total CO2= 24.8 mmol/L
LFT,
SGOT= 48u/l , SGPT= 50 u/l , TB= 0.54mg/dl, DB=0.15 mg/ dl, Alb= 3.2 g/dl, Alk Phos=124
RFT,
BUN= 84 mg/dl , Creatinine= 8.32mg/dl, eGFR= 16.6
PT, PTT, INR,
PT= 13.8 sec , PTT 33.4 sec, INR= 1.21
-
ข้อมูลผู้ป่วย
ข้อมูลเบื้องต้น
ชายไทย อายุ 56 ปี Admit รพ.ด้วยอาการ ไข้ ไอ หอบ มา 2 วัน ซื้อยา Para กินเอง ไม่ดีขึ้น, กินได้น้อย, มีคลื่นไส้แต่ไม่อาเจียน, วันนี้ซึมลง มีไข้ต่ำๆ และครบกำหนดล้างไต ลูกจึงพามาโรงพยาบาล
-
Underlying (U/D): COPD on Med with follow-up every 3 Months, CKD stage 3 ล้างไต จ-พ-ศ, Thalassemia ชนิด Beta(พาหะ)
โรคเดิมของผู้ป่วย
-
-
Thalassemia ชนิด Beta
สาเหตุของโรค
เกิดจากการได้รับการถ่ายทอดยีนกลายพันธุ์ระดับหน่วยย่อยโมเลกุลของฮีโมโกลบิน ในโมเลกุลของฮีโมโกลบินมีสายโกลบินสองคู่ที่เรียกว่า สายอัลฟาโกลบิน (alpha-globin) และสายเบต้าโกลบิน (beta-globin) การได้รับยีนบกพร่องหรือมีการขาดหายไปของสายโกลบินสายใดสายหนึ่ง เป็นสาเหตุสำคัญที่ให้เป็นโรคธาลัสซีเมีย ทั้งนี้ระดับความรุนแรงของอาการธาลัสซีเมียขึ้นอยู่กับจำนวนยีนบกพร่องที่ได้รับ หรือจำนวนยีนที่ขาดหายไป
พยาธิสภาพ
เบต้า ธาลัสซีเมีย (Beta-thalassemia) ผู้ที่เป็นเบต้าธาลัสซีเมียคือผู้ที่ได้รับยีนสายเบต้าโกลบินที่มีความบกพร่องซ้ำ 2 สาย 1 สายจากแต่ละคู่ บนคู่โครโมโซมที่ 11 โดยผู้ที่เป็นเบต้า ธาลัสซีเมียคือผู้ได้รับการถ่ายทอดยีนสายเบต้า โกลบินที่มีความบกพร่องจากทั้งพ่อและแม่ โดยระดับความรุนแรงของอาการจะขึ้นอยู่กับจำนวนยีนบกพร่อง หรือยีนกลายพันธุ์ที่ได้รับ ผู้ที่ได้รับยีนเบต้า ธาลัสซีเมียที่เป็นปกติซ้ำเพียง 1 สายมักไม่มีอาการ หรือมีอาการเล็กน้อยถึงปานกลาง ผู้ที่ขาดยีนเบต้า ธาลัสซีเมีย 2 สาย หรือขาดไป 1 สายและบกพร่อง 1 สายจะมีอาการของโรคธาลัสซีเมียเมเจอร์ (Thalassemia major) หรือโรคโลหิตจางคูลลี (Cooley’s anemia) ตั้งแต่อายุ 1-2 ขวบร่วมกับอาการของภาวะโลหิตจางเรื้อรัง (Anemia)
อาการและอาการแสดง
กลุ่มพาหะธาลัสซีเมียที่ไม่มีอาการ (Asymptomatic/no symptoms) หรือมีภาวะโลหิตจางเล็กน้อย อาจมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยล้า หรือไม่มีอาการ
กลุ่มผู้ที่มีระดับอาการเล็กน้อยถึงปานกลาง (Mild to moderate symptoms) ที่อาจต้องรับเลือดเป็นครั้งคราว โดยอาจมีอาการดังต่อไปนี้
-
-
-
-
-
-
-
กลุ่มผู้ที่มีระดับอาการรุนแรง (Severe symptoms) ที่ได้รับวินิจฉัยว่าเป็นโรคธาลัสซีเมียเมเจอร์ (Thalassemia major) หรือโรคโลหิตจางคูลลี (Cooley’s anemia) ที่จำเป็นต้องได้รับเลือดอย่างสม่ำเสมอ โดยมักมีอาการดังต่อไปนี้
-
-
-
-
-
-
มีโครงสร้างกระดูกบนใบหน้าผิดปกติ มีกะโหลกศีรษะหนา โหนกแก้มสูง หน้าผากสูง เนื่องจากมีการขยายตัวของไขกระดูก
-
-
การวินิจฉัยโรคของผู้ป่วย Covid-19,Pneumonia
Covid-19
โรคโควิด-19 (COVID-19, ย่อจาก Coronavirus disease 2019) เป็นโรคติด เชื้อทางเดินหายใจที่เกิดจากไวรัสโคโรนา ซึ่งมีชื่อทางการว่า SARS-CoV-2 ท าให้เกิด ไข้ ไอ [และอาจมีปอดอักเสบการติดเชื้อทางเดินหายใจจากไวรัส
ระบบทางเดินหายใจเริ่มจากจมูกลงไปถึงถุงลมในปอด แบ่งออกเป็นทางเดิน หายใจส่วนบน (จมูก โพรงรอบจมูกหรือไซนัส กล่องเสียง) และส่วนล่าง (หลอดลม และปอด) ความเจ็บป่วยจากการติดเชื้อที่ทางเดินหายใจส่วนบน จะไม่รุนแรงเท่าการ ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่าง ไวรัสที่ชอบทางเดินหายใจส่วนล่างจึงก่อโรครุนแรงกว่า
-
-
-
Pneumonia
พยาธิสภาพปอดอักเสบ
โรคปอดอักเสบเกิดจากการที่ปอดติดเชื้อ อาจเกิดได้ทั้งจากเชื้อไวรัสและเชื้อแบคทีเรีย โรคปอดอักเสบเป็นโรคติดต่อชนิดหนึ่ง สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนผ่านการสูดละอองฝอยในอากาศจากการจามหรือไอ
นอกจากนี้ ยังสามารถติดต่อได้จากการสัมผัสกับพื้นผิวหรือวัตถุที่ปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัสที่ก่อให้เกิดโรค โรคปอดอักเสบที่เกิดจากเชื้อราในสิ่งแวดล้อม จะไม่แพร่กระจายจากคนสู่คน
-
-
-