Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตวิญญาณความเป็นครู - Coggle Diagram
จิตวิญญาณความเป็นครู
แนวทางการพัฒนาจิตวิญญาณความเป็นคร
(1) มีความเจริญและสมดุลทั้งด้าน IQ และ EQ (I.Q. ย่อมาจาก Intelligence Quotient หมายถึงความ เฉลียวฉลาดทางสติปัญญา ส่วน E.Q. ย่อมาจาก Emotional Quotient หรือ Emotional Intelligence หมายถึง ความฉลาดทางอารมณ์) ซึ่ง IQ นน่ั เกดิ จากการศกึ ษาคน้ ควา้ วเิ คราะห์ พินิจพิจารณา สร้างความรู้ให้มีขึ้นในตัวเอง ส่วน E.Q นั่นเกิดจากการฝึกฝนและพัฒนาภายในตัวตนของบุคคล ซึ่งคนที่มี IQ สูงหรือมีอัจฉริภาพเพียงอย่าง เดียวนั้นอาจไม่ประสบความสําเร็จในชีวิตได้ เพราะภาวะสังคมที่เป็นพิษ ทําให้ 18 จิตใจคนแปรเปลี่ยนไป สมอง เฉื่อยชา ไม่รู้จักจัดระบบให้กับตัวเอง ทั้งนี้คนที่ประสบความสําเร็จในชีวิต EQ มักจะนํา IQ ดังนั้นในความเป็นครู ทั้งสองนี้ต้องสมดุลกัน มิฉะนั้นจะเป็นไปได้ยากที่จะพัฒนาผู้อื่นได
้
(2) ยึดหลักศาสนธรรม ทั้งนี้เพราะศาสนธรรมเป็นหลักพื้นฐานในการดํารงชีวิตร่วมกับผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นศีล 5 มรรค 8 (อัฏฐังคิกมรรค) พรหมวิหาร 4 อิทธิบาท 4 หิริ โอตัปปะ (ความละอายเกรงกลัว ต่อบาป) เป็นต้น เพื่อให้การดําเนินชีวิตไปด้วยความสุขุมลุ่มลึก มีสติ และขัดเกลาจิตใจให้มีความนบน้อม อ่อนโยน เมตตาจิต มี จิตประภัสสร เชื่อมั่นในเรื่องผลแห่งกรรม (การกระทํา) ดังพุทธพจน์ที่ว่า “ธม. โม สุจิณ. โณ สุขมา วหาติ ผู้ ประพฤติดีแล้วย่อมนําความสุขมาให้”
(3) เคารพตนเองและผู้อื่น เชื่อมั่นในสิ่งที่ทํา มองเห็นคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เชื่อ ว่ามนุษย์ทุก คนล้วนมีศักยภาพที่สามารถพัฒนาได้ รวมทั้งมีสํานึกดีต่อสังคม มุ่งมั่นในการทําความดีในทุกขณะ มองโลกในแง่ดี ศรัทธาในพุทธพจน์ที่ว่า “ทําดีได้ดี ทําชั่วได้ชั่ว”
(4) ใช้ชีวิตอยู่ทั่วจักรวาล มีคํากล่าวว่า มนุษย์เป็นสัตว์ชนิดเดียวที่อยู่ทั่วจักรวาล ทั้งนี้เพราะ มนุษย์มีอดีต มี ปัจจุบัน และมีอนาคต ดังนั้น ครูจะต้องเชื่อมโยงทั้ง 3 มิตินี้เข้าด้วยกัน โดยนําเอาอดีตมาเรียง ร้อยประสานเข้ากับ
(5) ครึ่งหนึ่งของชีวิตอุทิศเพื่อสังคม คนเราไม่ได้เกิดมาด้วยตัวคนเดียวโดดๆ แต่ชีวิตคือ ผลรวมของความ มุ่งมั่นจากสิ่งรอบตัว เพราะฉะนั้นชีวิตแต่ละชีวิตต่างติดหนี้สังคมอยู่ครึ่งชีวิต การกระทําที่ยุติธรรมทั้งต่อตนเองและ บุคคลอื่นคือ การแบ่งผลประโยชน์ครึ่งหนึ่งของชีวิตคืนให้สังคม เปิดกระบวนทัศน์ (Paradigm) ของตัวเองให้พ้น กรอบของความเห็นแก่ตัว ความยึดมั่นถือมั่น และการไขว่คว้าเพื่อสนองตัณหา เฉพาะในช่วงชีวิตของตัวเอง ต้อง ระลึกอยู่เสมอว่า มนุษย์ชาตินั้นมีระยะเวลาที่ยาวไกลมากนัก เราในฐานะ “ผู้มาเยือน” จะหลงเหลืออะไรไว้บ้าง นั่นจะเป็นคํา“ขอบคุณ” หรือ “ประณาม”
(6) ครูคือผู้สร้างค่านิยมกระแสสังคม การกระทําใดๆ จะต้องใส่ใจและรับผิดชอบต่อสังคม ไม่ใช่เพื่อ สนองตอบต่อมายาคติของตนเองเท่านั้น ทั้งนี้เพราะบทบาทของครูนั้นมีอิทธิพลต่อการกําหนดค่านิยม ทัศนคติ และกระแสสังคมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นตัวอย่างที่ดีย่อมมีความสําคัญเสมอ
องค์ประกอบและตัวบ่งชี้จิตวิญญาณความเป็นครู
(1) องค์ประกอบด้านการพัฒนาตนเอง ประกอบด้วย
1) การใฝ่หาความรู้ เพื่อพัฒนาตนเองอยู่เสมอ
2) มีความขยันหมั่นเพียรแสวงหาความรู้ใหม่ๆ
3) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นเพื่อการพัฒนาตนเองทุกครั้งที่มีโอกาส
4) มีการพัฒนาตนเองเพื่อสร้างความก้าวหน้าในวิชาชีพ จนได้รับอนุมัติให้มีหรือเลื่อน วิทยฐานะ
5) มีความพยายามแสวงหาโอกาสเข้ารับการอบรม เพื่อนําความรู้มาพัฒนางานใน หน้าที่ให้
6) มีการพัฒนางานในวิชาชีพหรือได้รับการยกย่องชมเชย หรือรางวัลที่เกี่ยวกับวิชาชีพ ครู
7) มีการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการเพื่อบริการสังคม
8) มีความกระตือรือร้นในการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อพัฒนาศิษย์
9) มีการพัฒนาตนเองให้ทันต่อการพฒั นาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง อยู่เสมอ 10) มีการสํารวจและปรับปรุงแก้ไขตนเองอยู่เสมอ
(2) องค์ประกอบด้านความมีเมตตาในการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย
1) การยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม ความคิดและความเชื่อ
2) การสนับสนุนความคิดริเริ่มในทางที่ถูกต้องของเพื่อนร่วมงาน
3) การใช้แนวทางในการแก้ปัญหา โดยวิธีการทางปัญญาและสันติวิธี
4) ปฏิบัติงานโดยอาศัยหลักแห่งเหตุผล ปราศจากอคติ
5) การยอมรับผลที่เกิดจากการกระทําของตน ด้วยความเต็มใจ
6) มีความเป็นประชาธิปไตย
7) การใช้หลักการและเหตุผลในการตัดสินใจแก้ปัญหา
8) การยอมรับความคิดที่มีเหตุผลโดยคํานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก
9) ปฏิบัติงานโดนไม่เพิกเฉยในเหตุการณ์ที่จะทําให้เกิดผลเสียต่องานในหน้าท
ความหมายของจิตวิญญาณความเป็นครู
คําว่า จิตวิญญาณความเป็นครู (Teacher spirituality ) ในประเทศไทยนั้นเราใช้กันมากในวงการศึกษา แต่อย่างไรก็ตาม ทางด้านจิตวิทยา Snyder และLopez (2007) ได้ให้ความหมายของคําว่า Spirituality ว่าเป็น การหาหนทางที่นําไปสู่การเป็นที่ยอมรับและภาคภูมิในตนเอง นอกจากนี้ PaJak และ Blaise (1989) กล่าวว่า จิตวิญญาณความเป็นครูจะทําให้ครูประกอบอาชีพครูได้อย่างมีประสิทธิภาพ และครูที่มีจิตวิญญาณความเป็นครู มักจะมีความเป็นมิตร ดูแลเอาใจใส่ เข้าใจ และยอมรับและอดทนต่อนักเรียนของตน
คุณสมบัติของครูตามแนวคิดจิตวิญญาณความเป็นครู
ครูต้องเด่นในเรื่องวิชาการ รู้ลึก รู้จริง รู้กว้าง ครูต้องมีศิลปะในการถ่ายทอดความรู้ และครูต้องมีใจเมตตา ต่อศิษย์ รักศิษย์ดังลูก
1) การพัฒนาพฤติกรรม ภายนอกหรือรูปสมบัติ ได้แก่ รูปร่างหน้าตา การแต่งกาย กิริยาท่าทาง น้ําเสียงและการพูด
มีความเมตตาต่อศิษย์ ครูคือผู้มีเมตตาความเมตตาเป็นคุณธรรมที่สําคัญอีกประการหนึ่งของครูที่จะ ขาดเสียมิได้ ครูที่สอนศิษย์ด้วยความเมตตาจะอยู่ในดวงใจของศิษย์ทุกคน
รอบรู้ในสายวิชาชีพ ครูผู้สอนมีความรอบรู้ในทุกศาสตร์ เข้าใจ มีความเป็นครูอยู่ในตัวตน มีความเป็น ครูที่มีเจตจํานงค์อยากสอนศิษย์ และเป็นมืออาชีพที่สามารถชี้ชัดในวิชาการ และครูต้องสามารถชวนลูกศิษย์ให้ลง มือปฏิบัติได้ และต้องรู้จักเสียสละ ทุ่มเท และประยุกต์ งานต่าง ๆ เพื่อให้นวัตกรรมใหม่ๆ ขึ้นมา ทั้งนี้ ครูต้องกล้า ที่จะให้โอกาสศิษย์ ต้องกล้าหาญ ในเชิงจริยธรรม ที่สําคัญต้องปลูกฝังให้ศิษย์ร่าเริง เบิกบาน แจ่มใส
เทคนิคการสอนดี เทคนิคการปฏิบัติตนที่ดี
4.1 ให้ความรักแก่นักเรียน พร้อม ๆ ไปกับเนื้อหาวิชาเรียน ครูควรแนะนําวิธีเรียนรู้ ให้แก่เด็ก ดูแลและ
4.4เอาใจใส่นกัเรยีนทําให้การเรียนการสอนนนั้มีความหมายขนึ้มาจนเกิดเป็นความผูกพันระหว่างครูกับศิษย์
4.2 สอนให้นักเรียนเชื่อมโยงกับชีวิตจริง และฝึกให้นักเรียนคิดให้บ่อยที่สุด ให้ผู้เรียนเข้าใจว่าความรู้ ไม่ได้จํากัดอยู่แต่ในเฉพาะหนังสือเท่านั้น ครูยังควรเชื่อมช่องว่างระหว่าง ทฤษฎีและการปฏิบัติทําให้นักเรียนเกิด ความชํานาญในเรื่องที่นักเรียนสนใจ โดยครูให้คําปรึกษา ช่วยเหลือในการปฏิบัติ และเชื่อมโยงสภาพชีวิตในชุมชน
4.3ตั้งใจฟังนักเรียนครูต้องรู้จักตั้งคําถามสามารถตอบข้อสงสัยแก่นักเรียนได้และควรระลึกอย่เูสมอ
4.5ว่านักเรียนแต่ละคนในชั้นเรียนมีความแตกต่างกัน ครูควรกระตุ้นการตอบสนอง การเรียนรู้และการพัฒนาทักษะ การสอื่สารให้แก่นักเรียนด้วย