Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.5.1 ตรวจฟ้อง แก้ฟ้อง แก้ให้การ, 161, 163 164 - Coggle Diagram
3.5.1 ตรวจฟ้อง แก้ฟ้อง แก้ให้การ
คำฟ้อง
(2) (3) (4) ชื่อโจทก์ จำเลย คู่ความ ฐานความผิด
(5) เรียงฟ้อง
การกระทำทั้งหลายที่อ้างว่าจำเลยกระทำความผิด
หากฟ้องขาดองค์ประกอบความผิด
ยกฟ้อง ลงโทษไม่ได้ แม้จำเลยเข้าใจได้ดี 787/40
ศาลยกขึ้นเองได้ 5364/36
สามารถยกฟ้องได้ในชั้นตรวจคำฟ้อง โดยไม่จำต้องไต่สวนมูลฟ้องก่อน
กรณีฟ้องมีหลายข้อหา ข้อหาใดบรรยายไม่ครบองค์ประกอบ อาจยกได้เพราะเหตุว่า ยกฟ้องข้อหานั้น เพราะ ถือว่าเป็นเรื่องที่อาจไม่ได้กล่าวในฟ้อง 192 ว 1 หรือเป็นกรณีที่ต่างจากที่พิจารณาได้ความ 192 ว 2 และอาจเป็นเรื่องที่ถือว่าโจทก์ไม่ประสงค์จะลงโทษ ว 4 ด้วย
ศาลสั่งแก้ฟ้องไม่ได้ 274/46 2006/41
ยกฟ้องเพราะฟ้องขาดองค์ประกอบ สิทธินำคดีอาญามาฟ้องระงับ 6770/46
ข้อเท็จจริง และรายละเอียด
ที่เกี่ยวข้องด้วยพอสมควรเท่าที่จะให้จำเลย เข้าใจข้อหาได้ดี
เคลือบคลุม/ แต่ในความจริง ศาลจะใช้คำว่าฟ้องโจทก์ไม่ชอบตามมาตรา 158
ไม่ประทับฟ้องตาม 161 ได้ 105/03
หากล่วงเลยเวลาในชั้นตรวจฟ้องแล้ว ก็ไม่สามารถพิพากษาลงโทษจำเลย ในส่วนคำฟ้องที่เคลือบคลุมได้ 1583/52
เวลา
รายละเอียดอาจปรากฏในคำขอผัดฟ้องได้ อ่านประกอบก็เข้าใจได้ว่าฟ้องสมบูรณ์ (444/2550)
หากบรรยายเวลาผิด เป็นไปไม่ได้ เช่น การกระทำความผิดเกิดภายหลังวันฟ้อง (อาจจะเพราะพิมพ์ผิด) เช่นนี้ จล รับสารภาพไปตามฟ้องที่ไม่ชอบ ศาลไม่อาจลงโทษ จล ได้ (ควรจะต้องแก้ฟ้องก่อน) 4974/2553 2588/43
เกิดการกระทำผิดในอนาคต ไม่พอที่จะทำให้จำเลยเข้าใจข้อหาได้ดีตาม158(5) จึงยังไม่มีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งได้ฟ้อง 1590/24
ต้นเดือน ไม่ชอบ 848/45
สถานที่
หากไม่บรรยายมาสามารถแก้ไขได้ และขอแก้ได้ 1276/2496
หากไม่ได้แก้ ศาลพิพากษายกฟ้องไป เป็นการวินิจฉัยเสร็จเด็ดขาดเลย 1526/2522
บุคคล
ผสห
-ไม่ได้กล่าวถึงบุคคลที่ถูกชิงทรัพย์ ไม่อาจลงโทษจำเลยได้ 2422/2530
-แต่ถ้าไม่รู้ว่าตัวเจ้าทรัพย์เป็นใคร กฎหมายก็มิได้บังคับเด็ดขาดว่าต้องระบุชื่อเจ้าของทรัพย์เสมอไปเช่นในกรณีที่ไม่อาจทราบตัวเจ้าของทรัพย์ที่แน่นอนได้ คำฟ้องเพียงแต่กล่าวไว้พอสมควรเท่าที่จะให้จำเลยเข้าใจข้อหาได้ดีก็เป็นการเพียงพอแล้ว (1433/2530)
ตัวการร่วม
แต่ไม่ต้องขนาดว่าร่วมกันด้วยวิธีการใด เป็นรายละเอียดที่สืบได้ชั้นพิจารณา 2426/2550 83/52
ต้องบรรยายว่าเป็นตัวการร่วมกัน (เช่น 2161/2531 หากไม่บรรยายถึงตัวการร่วมปล้น ก็จะลงปล้นมิได้)
ฟ้องจำเลย 2 คน ไม่ได้บรรยายการกระทำของบุคคลที่ 3 ด้วย คือคนขับรถ แม้จะได้ความว่ามีบุคคลที่3เป็นตัวการร่วมด้วยจริง ก็ลงโทษฐานชิงทรัพย์มิได้ 2161/2531 แต่การบรรยายฟ้องยังครบองค์ประกอบชิงทรัพย์อยู่ ลงได้
ข้อเท็จจริงที่ปรากฏในการพิจารณาจึงแตกต่างกับข้อเท็จจริงดังที่กล่าวในฟ้องในข้อสาระสำคัญ มิใช่ข้อแตกต่างที่เป็นเพียงรายละเอียดที่ศาลจะลงโทษจำเลยที่ 2 ตามข้อเท็จจริงที่ได้ความนั้นได้ตาม 192 วรรคสอง 10307/57
สิ่งของ
ไม่บรรยายว่าเป็นทรัพย์สินของผู้อื่น เป็นการขาดสาระสำคัญของความผิด 2422/2530 เช่น บรรยายว่าปล้นทรัพย์สินรายการใดไปบ้าง มิใช่บอกเพียงราคา 1360/2509ป
แต่หากเป็นการพยายามลักทรัพย์
10854/2553 บรรยายเพียงว่า “บุกรุกเข้าไปในห้องของโรงแรมที่เกิดภัยพิบัติ เพื่อลักทรัพย์สินของโรงแรมและนักท่องเที่ยวที่เก็บรักษาไว้ในห้องพัก จำเลยทั้งสองลงมือกระทำความผิดแล้วแต่กระทำไปไม่ตลอด เพราะมีผู้พบเห็นและเข้าขัดขวาง” ก็เพียงพอ ถือได้ว่าฟ้องโจทก์ได้บรรยายครบถ้วนตาม ป.วิ.อ. มาตรา 158 (5) แล้ว เพียงแต่ไม่ได้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพย์ที่จำเลยทั้งสองพยายามลักเท่านั้นเพราะลักษณะของความผิดย่อมยังไม่อาจทราบได้ว่าเป็นทรัพย์อะไรมีมูลค่าเท่าใด แต่เมื่ออ่านคำฟ้องโดยตลอดแล้วย่อมเป็นที่เข้าใจได้ว่าจำเลยทั้งสองร่วมกันพยายามลักทรัพย์ของผู้อื่น ฟ้องโจทก์จึงระบุข้อเท็จจริงรายละเอียดเกี่ยวกับบุคคลและสิ่งของพอสมควรเท่าที่จะทำให้จำเลยทั้งสองเข้าใจข้อหาได้ดีและต่อสู้คดีได้ หาจำต้องระบุรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพย์สินที่จำเลยทั้งสองพยายามลัก
บรรยายว่าของผู้มีชื่อ ฟ้องก็สมบูรณ์แล้ว แม้ไม่รู้ว่าทรัพย์ใคร ขอแค่พอสมควรก็พอ 3977/2530
หากไม่เขียนสามารถฟังรายงานฝากขังซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของคำฟ้องประกอบได้ 1290/2521
ในคดีหมิ่นประมาท ถ้อยคำพูด หนังสือ ภาพขีดเขียนหรือสิ่งอื่น อันเกี่ยวกับข้อหมิ่นประมาท ให้กล่าวไว้โดยบริบูรณ์หรือติดมาท้ายฟ้อง
(6) มาตรา ซึ่งกฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิด
(7) ลายมือชื่อ
โจทก์
ผู้เรียง
ผู้เขียน พิมพ์
161
163 164