Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2ฐานข้อมูลและการจัดการข้อมูล - Coggle Diagram
บทที่2ฐานข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ความหมายของข้อมูล
1.1 ข้อมูลเฉพาะ เป็นข้อมูลที่มีลักษณะ ตัวเลข หรือตัวอักษร ที่รูปแบบเฉพาะเจาะจง
1.2 ข้อความเป็นข้อมูลที่จัดเก็บอักษร ตัวเลข อักขระอื่นๆ
ข้อเท็จจริงที่สนใจรวบรวม โดยใช้กระบวนการเครื่องมือในการจัดเก็บ
1.3 รูปภาพ ข้อมูลรูปภาพชนิดต่างๆ เช่นการถ่ายสถานที่
1.4 เสียง เป็นข้อมูลรูปแบบเสียง ข้อความเสียง
1.5 ภาพเคลื่อนไหว เป็นการถ่ายวิดีโอที่รวมทั้งภาพและเสียงไว้ด้วยกัน
โครงสร้างข้อมูล
1.2 เขตข้อมูล เป็นหน่วยข้อมูลอักขระตัวเลขจำนวนเต็มบวก ลบ ทศนิยม
1 เขตข้อมูลตัวอักษร เป็นข้อมูลอัขระที่เป็นตัวอักษร
1.1อักขระ คือตัวอักษร a-z ก-ฉ 0-9
2 เขตข้อมูลอักขระ อักษร ตัวเลข สัญลักาณ์พิเศษ เช่นบ้านเลขที่ รหัสสินค้า
1.3 ระเบียน เป็นกลุ่มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน1 ระเบียน เช่นข้อมูลพนักงานในบริษัท
ฐานข้อมูลคือ กลุ่มแฟ้มที่มีความสัมพันธ์นำมารวมกันไว้ เช่นฐานข้อมูลทะเบียน
1.2 อนุญาตให้ผู้ใช้งานสามารถทำการเพิ่ม ปรับปรุง ลบ และเรียกใช้ ข้อมูลจากฐานข้อมูล
ความหมายของฐานข้อมูล คือกลุ่มแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันถูกรวบรวมมาไว้เพื่อการใช้งาน
1.1 อนุญาตให้ผู้ใช้งานสามารถกำหนดหรือสร้างฐานข้อมูลเพื่อกำหนดโครงการ
การจัดการฐานข้อมูล หน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล
1.3 สามารถทำการควบคุมในการเข้าถึงฐานข้อมูล
1.3.2 ความคงสภาพระบบ ทำให้เกิดความถูกต้องตรงกันในการจัดเก็บข้อมูล
1.3.3 มีระบบการควบคุมการเข้าถึงข้อมูลพร้อมกัน คือสามารถแชร์ข้อมูลเพื่อบริการในการเข้าถึงข้อมูลพร้อม
1.3.4 การกู้คืนระบบ สามารถกู้คืนข้อมูลกลับมาได้ในกรณีที่ฮาร์ดแวร์หรือซอฟแวร์เกิดความเสียหาย
1.3.5 การเข้าถึงรายการต่างๆ ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงรายการหรือรายละเอียดต่างๆ
2 ประโยชน์
2.4 สามารถตอบสนองต่อความต้องการใช้ข้อมูลได้หลายรูปแบบ
2.5 ข้อมูลที่เก็บอยู่ภายในฐานข้อมูลสามารถนำเสนอได้ง่าย
2.3 สามารถสร้างระบบความปลอดภัยให้กับข้อมูล เช่น สามารถที่จะกำหนดสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลในระดับต่างๆ
2.6 ลดเวลาในการพัฒนาโปรแกรมในการเรียกใช้ฐานข้อมูล
2.2 สามารถกำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันได้ เช่น การกำหนดการป้อนข้อมูล วันเดือนปี
2.7 สามารถควบคุมเป็นอิสระของข้อมูล สามารถแก้ไขโครงสร้างการจัดเก็บและวิธีเรียกใช้ข้อมูล
2.1 สามารถหลีกเลี่ยงการเกิดปัญหาความขัดแย้งของข้อมูล
2.8 ทำให้เกิดความเป็นอิสระของข้อมูล สามารถแก้ไขโครงสร้างการจัดเก็บและทำให้สะดวก
3 ข้อเสีย
3.1 การทำงานที่มีความซับซ้อนมากขึ้น ต้องการข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ
3.2 ผู้ใช้งานฐานข้อมูลจำเป็นต้องได้รับการฝึกสอนการใช้ฐานข้อมูล
3.3 การสูญเสียข้อมูลที่อาจเกิดขึ้นได้ เพราะข้อมูลถูกเก็บไว้ที่เดียวกัน
4 ความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล
4.2 หนึ่งต่อกลุ่ม สมาชิกหนึ่งรายการมีความสัมพันธ์กับสมาชิกหลายรายกาย
4.3 กลุ่มต่อกลุ่ม สมาชิกรายการมีความสัมพันธ์หลายรายการ
4.1 ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง สมาชิกหนึ่งรายการมีความสัมพันธ์กับสมาชิกหนึ่งรายการ
หัวใจสำคัญในการออกแบบฐานข้อมูลที่มีโครงสร้างเชิงสัมพันธ์
1 แบบจำลองระบบแบบลำดับชั้น เป็นการทำงานคล้ายโครงสร้างของต้นไม้ มีความสัมพันธ์ในลักษณะหนึ่งต่อกลุ่มจากบนลงล่าง
4 เชิงวัตถุ มีแนวคิดให้มองทุกสิ่งของวัตถุโดยแต่ละวัตถุเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลและปฎิบัติ
5 แบบมัลติไดเมนชัน ใช้งานกับคลังข้อมูลจะนำเสนอข้อมูลทำให้วิวข้อมูลแบบสองทางสามารถเห็นปัญหาในธุรกิจ
3 แบบจเชิวสัมพันธ์ เป็นที่นิยมมากที่สุด แสดงข้อมูลเข้าใจง่าย แสดงเป็นตาราง2มิติ แนวนอน แนวตั้ง'
2 แบบเครืองข่าย เป็นการทำงานที่มีความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่มโครงสร้างหลักเหมือนกันทำงานแบบลำดับชั้น
ประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน
ประโยชน์ของคลังข้อมูล 1 ช่วยเพิ่มคความรู้ให้กับผู้บริหาร 2 ช่วยเพิ่มศักยภาพในด้านการแข่งขันองค์กร 3 ช่วยเพิ่มความสามารถและศักยภาพด้านการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการ 4 สนับสนุนและิำนวยความสะดวกในการตัดสินใจ 5 ดำเนินงานขององค์กรเป็นไรอย่างราบรื่นและคล่องตัว
คลังข้อมูล คือ ฐานข้อมูลที่ได้มีกระบวนการสกัดข้อมูลจากฐานข้อมูลอื่นๆ
1 คลังข้อมูล เนื่องจากปัจจุบันมีข้อมูลที่จัดเก็บจำนวนมากขึ้น
ดาต้ามาร์ท คือการจัดเก็บข้อมูลและแบ่งส่วนจัดเก็บเป็นส่วนย่อยๆ
แบบกระจาย การทำงานระบบการจัดการข้อมูลจะทำการจัดการเก็บข้อมูลแต่ละหน่วยงานจะต้องอาศัยองค์ประกอบพื้นฐาน
เหมืองข้อมูล คือซอฟแวร์หรือเครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์สนับสนุนการตัดสินใจของการบริหารในการวิเคราะห์ข้อมูล
ลักษณะการประมวลผล
2 ประมวลผลแบบทันที ทำการประมวลผลข้อมูลและแสดงผลลัพธ์ทันที เช่นการฝาก-ถอนเงิน
1 ประมวลผมแบบกลุ่ม ข้อมูลจะถูกเก็บรวบรวมหรือสะสมไว้ในช่วงระยะเวลาหนึ่งอาจจะสะสมไว้เป็นประจำหรือสัปดาห์หรือประจำเดือนแล้วจึงนำข้อมูลมารวยรวมสะสมไว้