Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มารดา อายุ 15 ปี G1PoAb0 GA38+1 week Previous cesarean section - Coggle…
มารดา อายุ 15 ปี G1PoAb0 GA38+1 week Previous cesarean section
ข้อมูลทั่วไป
มารดารอคลอด ชาวไทย อายุ 15 ปี ศาสนาพุทธ ไม่ได้ประกอบอาชีพ รายได้ 5,000 บาทต่อเดือน ที่อยู่ อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
สามี ชาวไทย อายุ 14 ปี ศาสนาพุทธ อาชีพ รับจ้าง รายได้ 5,000 บาทต่อเดือน ที่อยู่ อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
อาการสำคัญ ท้องแข็ง น้ำเดิน 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต ปฎิเสธการเจ็บป่วย
วันที่รับไว้ในการดูแล
วันที่ 9 พฤศจิกายน 2566
ประวัติการฝากครรภ์
ฝากครรภ์คุณภาพครบ 5 ครั้ง ที่โรงพยาบาลโคกเจริญ ANC ครั้งแรก GA 11+2 by U/S HCT ครั้งที่ 1 36.4 % ครั้งที่ 2 34%
Risk
1.อายุน้อยกว่า 20 ปี
2ฺฺ.BMI ก่อนตั้งครรภ์ <18.5 กก./ตรม
3.ใกล้ชิดคนสูบบุหรี่
Cesarean section
ข้อบ่งชี้ Absolute Indication
1.Failure to progress in labor
2.Placenta previa totalis
6.CA cervix
5.CPD
3.fetal distress
4.Prolapes cord
Relative Indication
1.Failure to progress in labor
2.power ( แรงเบ่งมารดาไม่ดี )
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 1 มีการคลอดล่าช้า ในระยะที่2 เนื่องจากผู้คลอดอ่อนล้าและเบ่งไม่ถูกวิธี
วัตถุประสงค์ ไม่เกิดอันตรายต่อมารดาและทารก
ข้อมูลสนับสนุน
O : เบ่งคลอดนาน เป็นระยะเวลา 1ชม.45 นาที
O : เบ่งขึ้นหน้า ลักษณะการเบ่ง เบ่งสั้นๆ และหน้าแรงทุกครั้งเวลาเบ่ง
O : มารดาครรภ์แรก ไม่เคยผ่านการคลอดบุตรมาก่อน
O : Fetal hart sound 130 ครั้งต่อนาที
S : มาดาบอกว่า" เหนื่อย หมดแรงเบ่ง "
O : O2sat 96 %
เกณฑ์การประเมิน
1.ไม่เกิดอันตรายและภาวะแทรกซ้อนต่อทารก เช่น ทารกได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ ( Fetal distress )
2.ไม่เกิดอันตรายและภาวะแทรกซ้อนต่อมารดาจากการทำสูติศาสตร์หัตถการ
3.Fetal hart sound 110-160 ครั้งต่อนาที
4.O2sat <96%
กิจกรรมการพยาบาล
2.On O2 cannula 10 L/min เพื่อป้องกันภาวะพร่องออกซิเจนและป้องกันภาวะ Fetal Distress
3.จัดท่านอนให้เหมาะสม ท่าครึ่งนั่งครึ่งนอน หรือยกหัวสูงเล็กน้อย เพื่อให้การเบ่งคลอดมีประสิทธิภาพ
1.ประเมิน FHS ทุก 15 นาที เพื่อเฝ้าระวังภาวะ Fetal distress
4.สอนมารดาให้เบ่งแบบถูกวิธี โดยเมื่อมดลูกหดรัดตัวให้คุณแม่สูดลมหายใจช้าๆ 2 ครั้ง ครั้งที่ 3 ให้คุณแม่หายใจเข้าลึกๆ แล้วกั้นไว้ ยกศีรษะก้มหน้าคางจรดอก แยกเข่าให้กว้าง พร้อมกับคลายกล้ามเนื้อช่องคลอดและฝีเย็บ มือสองข้างกำเหล็กข้างเตียง แล้วออกแรงเบ่งลงทางช่องคลอดคล้ายถ่ายอุจจาระ เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าของการคลอด
5.หากเบ่งนานเกิน 2 ช่วมโมงในครรภ์แรก ให้รายงานแพทย์ให้แพทย์พิจารณาช่วยคลอดทันที เพื่อป้องกันการเกิดอันตรายและภาวะแทรกซ้อนต่อมารดาและทารกจากการเบ่งคลอดในระยะที่ 2 ยาวนาน
ประเมินผล
2.ไม่เกิดอันตรายและภาวะแทรกซ้อนต่อมารดาจากการทำสูติศาสตร์หัตถการ แพทย์มีแผนการรักษาให้ Set c/s
3.Fetal hart sound 134 ครั้งต่อนาที
1.ไม่เกิดอันตรายและภาวะแทรกซ้อนต่อทารก เช่น ทารกได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ ( Fetal distress )
4.O2sat 99%
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 2 เตรียมความพร้อมผู้ป่วยสำหรับผ่าตัด Previous cesarean section
ข้อมูลสนับสนุน
O : แพทย์มีแผนการรักษาให้ Set OR for Previous cesarean section
O : มารดาไม่สามารถเบ่งทางช่องคลอดได้ รวมระยะเวลาเบ่ง 1 ชม.45 นาที
เกณฑ์การประเมิน
มารดามีความพร้อมสำหรับการผ่าตัด Previous cesarean section
กิจกรรมการพยาบาล
3.ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษา ได้แก่ 5%DN/2 1000 ml IV lode
4.On Foley catheter เพื่อระบายน้ำปัสสาวะระหว่างการผ่าตัดและไม่ให้เกิด bladder full
2.ดูแลให้งดน้ำและอาหารก่อนเข้ารับการผ่าตัด 6 ชม. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างผ่าตัด
5.ดูแลให้ร่างกายมารดาสะอาดก่อนเข้ารับการผ่าคลอด โดยโกนขนบริเวณหน้าท้องที่จะผ่าตัด เพื่อให้พร้อมต่อการผ่าตัด
1.อธิบายขั้นตอนการเข้ารับการผ่าคลอด เพื่อให้เกิดความเข้าใจในขั้นตอนการผ่าตัดคลอดบุตร
ประเมินผล
มารดามีความพร้อมสำหรับการผ่าตัด Previous cesarean section
การวินิจฉัย Previous cesarean section ( การผ่าตัดทางหน้าท้องเพื่อนำตัวเด็กทารกออกมา
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 3
เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด
วัตถุประสงค์ ไม่มีภาวะตกเลือดหลังคลอด
เกณฑ์การประเมิน
2.มี Blood loss ออกมากกว่า 500 cc
3.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ T=36.5-37.4 องศาเซลเซียส RR=18-20 ครั้งต่อนาที PR=60-100 ครั้งต่อนาที BP=90/60-130/90 mmHg
1.ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะตกเลือดหลังคลอด เช่น หน้ามืดใจสั่น
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของการตกเลือดหลังคลอด เช่น หน้ามืด ใจสั่น ชีพจรเต้นเร็ว ฺBlood loss ออกมามากกว่า 500 cc เพื่อเฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอด
2.แนะนำให้สังเกตสีของน้ำคาวปลาและกลิ่น หากมีกลิ่นหรือแผลไม่จางลงให้รายงานแพทย์ทันที เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด
3.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อเฝ้าระวังภาวะร่างกายเปลี่ยนแปลง
5.แนะนำไม่ให้ยกของหนัก หลีกเลี่ยงการทำกิจกกรมที่ต้องใช้แรงมาก เพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ข้อมูลสนับสนุน
O : boold loss 550 cc
O : Previous cesarean section
ประเมินผล
2.มี Blood loss ออก 200 cc
3.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ T=36.8 องศาเซลเซียส RR=20 ครั้งต่อนาที PR=88 ครั้งต่อนาที BP=128/86mmHg
1.ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะตกเลือดหลังคลอด เช่น หน้ามืดใจสั่น
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่4 อาจเกิดอุณหภูมิร่างการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากศูนย์ควบคุมอุณหภูมิร่างกายยังไม่สมบูรณ์
ข้อมูลสนันสนุน
O : อุณหภูมิ 36.8 องศาเซลเซียส
O : ทารกแรกเกิด 2 ชั่วโมง
O : Previous cesarean section
วัตถุประสงค์ อุณหภูมิร่างกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ 36.5-37.4 องศาเซลเซียส
เกณฑ์การประเมิน
1.อุณหภูมิร่างกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ อยู่ในช่วง 36.5-37.4 องศาเซลเซียส
2.ไม่เกิดภาวะ Hypothermia เช่น ผิวเย็นซีด คล้ำ ซึม ดูดนมช้า ดูดนมน้อยลงน้ำหนักลดลง ปัสสาวะลดลง อาเจียน หรืออาจหยุดหายใจ
1.อุณหภูมิร่างกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ อยู่ในช่วง 36.8 องศาเซลเซียส
2.ไม่มีภาวะ Hypothermia เช่น ผิวเย็นซีด คล้ำ ซึม ดูดนมช้า ดูดนมน้อยลงน้ำหนักลดลง ปัสสาวะลดลง อาเจียน หรืออาจหยุดหายใจ
กิจกรรมการพยาบาล
2.สังเกตอาการของภาวะ Hyperthermia เช่น ผิวหนังแดง ร้อน อุณหภูมิ 37.4 องศาเซลเซียสเป็นต้นไป เพื่อเฝ้าระวังภาวะ Hyperthermia
ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง เพื่อเฝ้าระวังภาวะ Hypothermia
1.ประเมินอาการของภาวะ Hypothermia เช่น ผิวซีด คล้ำ ซึม ดูดนมช้า ดูดนมน้อยลงน้ำหนักลดลง ปัสสาวะลดลง อาเจียน หรืออาจหยุดหายใจ เพื่อเฝ้าระวังภาวะ Hypothermia
4.keep warm เพื่อรักษาอุณหภูมิร่างกาย
5.ดูแลให้ผิวหนังของทารกแห้งอยู่เสมอ ควรเปลี่ยนผ้าอ้อมทันทีที่ทารกอุจจาระหรือปัสสาวะ เพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อนจากการระเหย
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 5 เสี่ยงต่อการติดเชื้อในร่างกาย เนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันร่างกายยังไม่สมบูรณ์
ข้อมูลสนับสนุน
O : ทารกแรกเกิด 2 ชั่วโมง
O: อุณหภูมิร่างกาย 36.8 องศา
O : ผิวหนังบางแห้ง
วัตถุประสงค์ ไม่เกิดการติดเชื้อในร่างกาย
เกณฑ์การประเมิน
1.ไม่มีอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ เช่น ซึม มีไข้ ตัวเย็น น้ำหนักลด ดูดนมไม่ดี ร้องกวน หายใจเร็ว หอบเหนื่อย
2.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ T=36.5-37.4 c RR=40-60 bpm PR=120-160 bpm O2sat=96-100%
ประเมินผล
1.ไม่มีอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ เช่น ซึม มีไข้ ตัวเย็น น้ำหนักลด ดูดนมไม่ดี ร้องกวน หายใจเร็ว หอบเหนื่อย
2.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ T=36.8 c RR=44 bpm PR=144 bpm O2sat=100%
1.ดูแลป้ายยา Terramycin ointment ตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรียในช่องคลอด
2.ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ เช่น ซึม มีไข้ ตัวเย็น น้ำหนักลด ดูดนมไม่ดี ร้องกวน หายใจเร็ว หอบเหนื่อย เพื่อเฝ้าระวังการติดเชื้อ
3.ล้างมือทุกครั้งเมื่อให้การพยาบาลทารก เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
4.ประเมินสัญญาณชีพทุก 15 นาที 4 ครั้ง 30 นาที 2 ครั้งและ 1 ชั่วโมง 1 ครั้ง เพื่อเฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลง
5.ดูแลสิ่งแวดล้อมให้สะอาด เครื่องมือและสิ่งของที่ใช้กับทารกต้องผ่านการฆ่าเชื้อ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ