Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๑ นางสาวอิบตีซาม …
พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๑
นางสาวอิบตีซาม โต๊ะลง 662447079
มาตรา ๓
“คนพิการ” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติ
กิจกรรมในชีวิตประจำวันหรืเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม
“ผู้ดูแลคนพิการ” หมายความว่า บิดา มารดา ผู้ปกครอง บุตร สามี ภรรยา
ญาติ พี่น้องหรือบุคคลอื่นใดที่รับดูแลหรือรับอุปการะคนพิการ
“แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล” (IEP) หมายความว่า แผนซึ่งกำหนดแนวทาง
การจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นพิเศษของคนพิการ
“เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก” หมายความว่า เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือบริการ
ที่ใช้สำหรับคนพิการโดยเฉพาะ หรือที่มีการดัดแปลงหรือปรับใช้ให้ตรงกับ
ความต้องการจำเป็นพิเศษของคนพิการแต่ละบุคคล
“ครูการศึกษาพิเศษ” หมายความว่า ครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษสูงกว่าระดับปริญญาตรี
ขึ้นไปและปฏิบัติหน้าที่ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน
“การเรียนร่วม” หมายความว่า การจัดให้คนพิการได้เข้าศึกษา
ในระบบการศึกษาทั่วไปทุกระดับและหลากหลายรูปแบบ
“ศูนย์การศึกษาพิเศษ” หมายความว่า สถานศึกษาของรัฐที่จัด
การศึกษานอกระบบ หรือตามอัธยาศัยแก่คนพิการ
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
หมวด ๑
สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา ๗ สถานศึกษาของรัฐและเอกชนที่จัดการเรียนร่วม ได้รับเงินอุดหนุนและความช่วยเหลือเป็นพิเศษจากรัฐ
มาตรา ๘ สถานศึกษาจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
มาตรา ๖ ครูทุกสังกัดมีสิทธิได้รับเงืนค่าตอบแทนพิเศษ
มาตรา ๙ รัฐจัดเงินอุดหนุน
มาตรา ๕ คนพิการมีสิทธิ
เลือกบริการทางการศึกษา
ได้รับการศึกษาที่มีมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา
ได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
มาตรา ๙ ราชการส่วนท้องถิ่นออกข้อบัญญัติ เทศบัญญัติ ข้อกำหนด ระเบียบหรือประกาศ
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า"พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ.๒๕๕๑"
มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด ๒
การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ
มาตรา ๑๔ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นตำแหน่ง
ลาออก
เป็นบุคคลล้มละลาย
ตาย
เป็นบุคคลไร้ความสามารถ
ได้รับโทษจำคุก
บกพร่องต่อหน้าที่
มาตรา ๑๖ การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีคณะกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าครึ่ง
มาตรา ๑๗ คณะกรรมการอาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
มาตรา ๑๘ ให้สำนักงานการศึกษาพิเศษทำหน้าที่เลขานุการของคณะกรรมการ รวมถึงหน้าที่
ผลิต วิจัย และพัฒนาสิ่งอำนวยควาสะดวกเพื่อการจัดการศึกษา
ดำเนินงานธุรการของกองทุน
วิจัย และพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ของคนพิการ
ส่งเสริมสนับสนุนหน่วยงานทางการศึกษาในการผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการจัดการศึกษา
ส่งเสริม สนับสนุน และประสานความร่วมมือในการจัดการศึกษา
ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถาบันที่จัดการศึกษาสำหรับคนพิการ
ประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการจัดการศึกษาให้สอดคลองกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา
จัดสรรเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก
สนับสนุนให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจัดกาเรียนร่วมแก่คนพิการ
มาตรา ๑๓ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิดำรงตำแหน่งสามปี
มาตรา ๑๙ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทำหน้าที่ดำเนินการจัดการศึกษา
มาตรา ๑๒ ให้คณะกรรมการมีอำนาจ
เสนอความเห็นและให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการกำหนดหลักสูตร
พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนการใช้จ่ายเงินกองทุน
เสนอนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนการจัดการศึกษา
วางระเบียบ ข้อกำหนด ประกาศ คำสั่ง แนวปฏิบัติเกี่ยวกับกาจัดการศึกษา
ส่งเสริมสนับสนุนและช่วยเหลือกิจกรรมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ส่งเสริมสนับสนุนให้จัดการศึกษาอย่างบูรณาการ
วางระเบียบเกี่ยวกับการพิจารณาอนุมัติการจ่ายเงิน
วางระเบียบเกี่ยวกับการจัดทำรายงานสถานะการเงินและการบริหารกองทุน
วางระเบียบเกี่ยวกับการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินกองทุน การตัดหนี้เป็นสูญ
วางระเบียบเกี่ยวกับการกำหนดมาตรฐาน ให้การรับรอง หรือเพิกถอนการรับรองแก่สถานศึกษาที่จัดเรียนร่วม
ปฏิงานอื่นตามพระราชบัญญัติหรือกฎหมายกำหนด
วางระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารจัดการกองทุน
มาตรา ๒๐ สถานศึกษาเฉพาะความพิการของรัฐ มีหน้าที่จัดการศึกษาตามภารกิจแก่คนพิการ
มาตรา ๑๑ ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย(รองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง)
ผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นคนพิการ(รองประธานกรรมการคนที่สอง)
กรรมการโดยตำแหน่ง จำนวนสิบคน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ(ประธานกรรมการ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนสิบสามคน
มาตรา ๑๕ กรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งก่อนครบวาระ รัฐมนตรีอาจแต่งตั้งผู้อื่นเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทน
หมวด ๓
กองทุนส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาสำหรับคนพิการ
มาตรา ๒๓ คณะกรรมการบริหารกองทุนมีอำนาจหน้าที่
รายงานสถานะการเงินเเละการบริหารกองทุนต่อคณะกรรมการ
พิจารณาอนุมัติการจ่ายเงิน
บริหารกองทุน ดำเนินการลงทุน การหาประโยชน์และการจัดการกองทุน
แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงาน
มาตรา ๒๕ คณะกรรมการบริหารกองทุนจัดทำงบการเงินส่งผู้สอบบัญชีตรวจสอบ
มาตรา ๒๒ ให้มีคณะกรรมการบริหารกองทุน
มาตรา ๒๖ ให้นำบัญญัติมาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๕ มาบังคับใช้
มาตรา ๒๑ จัดตั้งกองทุน
เงินรายได้ที่ได้จากการออกสลากหรือการจัดกิจกรรม
ดอกผลและผลประโยชน์ที่เกิดจากเงินหรือทรัพย์สินของกองทุน
เงินอุดหนุนจากองค์กีปกครองส่วนท้องถิ่น
เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาค
เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
รายได้บางส่วนจากภาษีของสินค้าและบริการที่เป็นสาเหตุแห่งความพิการตามที่กฎหมายกำหนด
เงินและทรัพย์สินที่โอนมาจากเงินกองทุนการศึกษาสำหรับคนพิการ
มาตรา ๒๔ การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินกองทุน และการตัดหนี้เป็นสูญ ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๒๘ ก่อนมีการแต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษา
สำหรับคนพิการ ให้คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาพิเศษทำหน้าที่จนกว่า
จะได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมกาจัดการศึกษาสำกรับคนพิการ
มาตรา ๒๗ เมื่อพระราชบัญญัตินี้มีผลบังคับใช้แล้ว
ให้โอนบรรดาเงิน ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้ของกองทุน
การศึกษาสำหรับคนพิการไปเป็นของกองทุน
มาตรา ๒๙ ครูหรือบุคลากรทางการศึกษาที่ผ่านการอบรมวุฒิบัตรครูการศึกษาพิเศษ
ตามหลักสูตรที่คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาอนุมัติก่อนการ
ประกาศใช้พระราชบัญญัตินี้เป็นครูการศึกษาพิเศษต่มพระราชบัญญัตินี้
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เพื่อให้การบริการและการให้ความช่วยเหลือแก่พิการในด้านการศึกษาเป็นไปอย่างทั่วถึง
ทุกระบบและทุกระดับการศึกษา