Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคโลหิตจาง, อาการและอาการแสดง, พยาธิสรีรวิทยา - Coggle Diagram
โรคโลหิตจาง
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนด้วยวิธีการที่เหมาะสม ตามแผนการรักษา และติดตามประเมินความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (SpO2) อย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันภาวะเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน tissue hypoxia และช่วยลดการทำงานของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยา เช่น ยาธาตุเหล็ก วิตะมินบี 12 กรดโฟลิค Erythropoietin ตามแผนการรักษา พร้อมติดตามประเมินผลข้างเคียงของยา เพื่อช่วยสร้างเม็ดเลือดแดงและช่วยในการทำงานของระบบประสาท
ดูแลให้ได้รับเลือด PRC ตามแผนการรักษา พร้อมติดตามประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด เพื่อเพิ่มจำนวนเม็ดเลือดแดงในกระแสโลหิต
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารอย่างเหมาะสมเพื่อ เสริมการสร้างเม็ดเลือดแดง โดยประสานงานกับโภชนากร และให้แนะนำญาติให้นำอาหารที่เหมาะสมที่ผู้ป่วยชอบมาให้ผู้ป่วย รับประทาน
-
ประเมินความสามารถในการทำกิจกรรมของผู้ป่วย และช่วยในกรณีที่เกินความสามารถของผู้ป่วย เพื่อลดความต้องการใช้ออกซิเจน
-
ประเมินอาการเหนื่อยง่ายขณะและหลังทำกิจกรรมต่างๆ โดยนับอัตราการหายใจ นับชีพจรก่อนและหลังทำกิจกรรมเสร็จ 3นาที เพื่อประเมินความทนในการทำกิจกรรม
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC คือ RBC, Hb และ Hct เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของภาวะซีด
การซักประวัติ
ระยะการเกิดอาการระยะเวลาที่มีอาการเป็นมานานเท่าไหร่ เกิดขึ้นช้าหรือเร็ว รวมทั้งถามเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงต่างๆ ที่เกิด
-
-
ประวัติการรับประทานอาหารและการรับประทานยาควรซักถามเกี่ยวกับอาหารที่รับประทานเป็นประจําและพฤติกรรม การรับประทานอาหารที่เสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร
ประวัติการมีไข้ หากพบว่ามีไข้เรื้อรังเป็นๆหายๆเป็นเวลานาน อาจนึกถึงการติดเชื้อหรือโรคมะเร็งทางโลหิตวิทยา
-
-
ประวัติโรคเรื้อรัง เนื่องจากผู้ป่วยบางรายอาจมีโรคเรื้อรังบางโรคเป็นโรคประจําตัว เช่น โรคไต โรคมะเร็ง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
-
-
-
ตรวจหาเม็ดเลือดแดงที่แปรสภาพ ถ้าเห็นเป็นเม็ดเดี่ยวๆ 1-2 เม็ดใน 1เซลล์ รูปร่างไม่แน่นอน เรียกว่า Heinzbodyพบใน G-6-PD deficiency
แนวทางการรักษา
-
การรักษาเฉพาะ เป็นการรักษาที่สาเหตุ เช่น หากพบว่ามีภาวะซีดจากพยาธิ ปากขอ จะให้ยากำจัดพยาธิ ใน aplastic anemia อาจพิจารณาทำการปลูกถ่ายไขกระดูก
การให้เลือด ในกรณีที่ซีดมาก มี Hct. < 30 %
แพทย์พิจารณาให้ Packed red cell (PRC)
เพื่อเพิ่มจำนวนเม็ดเลือดแดงในกระแสโลหิต
-
-
-
ความหมาย
เป็นภาวะที่มีปริมาณเม็ดเลือดแดงในเลือดน้อยกว่าปกติ ทำให้ผลิตออกซิเจนได้น้อยกว่าปกติ ส่งผลให้ร่างกายมีอาการผิดปกติ เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ภาวะนี้พบได้บ่อยในบุคคลทั่วไป
ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค
การขาดธาตุเหล็ก มีปัจจัยของการเกิดโรคทั้งที่ควบคุมไม่ได้ และควบคุมได้ เช่น การขาดสารอาหารสำหคัญที่ช่วยผลิตเม็ดเลือดแดง
โดยเฉพาะธาตุเหล็ก
ผลกระทบของโรค
ส่งผลให้ร่างกายเกิดความผิดปกติได้ตั้งแต่อาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย หน้ามืด หมดสติ และหากมีภาวะโลหิตจางรุนแรงอาจส่งผลต่อการทำงานของหัวใจ ทำให้หัวใจทำงานหนักมากขึ้นจนถึงขั้นหัวใจล้มเหลวได้
อาการและอาการแสดง
-
-
การตรวจร่างกายพบอาการแสดง เช่น ภาวะซีด
(ผิวหนัง เยื่อเมือก เยื่อบุเปลือกตาล่าง และเนื้อใต้เล็บซีด)
แต่ก็ไม่ใช่อาการแสดงที่เชื่อถือได้ อาจพบอาการแสดงของสาเหตุจำเพาะของโลหิตจาง เช่น สภาพเล็บรูปช้อน
-
พยาธิสรีรวิทยา
เมื่อจำนวนเม็ดเลือดแดงลดน้อยลง ความข้นหรือความหนืด(viscosity) ของเลือดจึงลดลง ทำให้แรงต้านทานการไหลเวียนของเลือดลดลง เลือดจึงไหลกลับเข้าสู่หัวใจมากขึ้น (preload เพิ่มขึ้น) ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่บีบออกจากหัวใจ (cardiac output) เพิ่มขึ้นแต่ความสามารถในการขนถ่ายออกซิเจนไปสู่เนื้อเยื่อลดลง
เนื่องจากในแต่ละหน่วยของเลือดมีปริมาณออกซิเจนน้อย จึงเกิดภาวะเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน (tissue hypoxia) ร่างกายมีการปรับตัวโดยมีการขยายตัวของหลอดเลือดฝอยส่วนปลาย ทำให้เกิดการบวม หัวใจจึงต้องทำงานหนักมากขึ้นเพื่อสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลาย เมื่อหัวใจมีการออกแรงมากกว่าที่ทำอยู่ตามปกติ เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อหัวใจจึงต้องการออกซิเจนเพิ่มมากขึ้นอีก
-